Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความเจ็บปวดและการบรรเทาความเจ็บปวดในระยะคลอด - Coggle Diagram
ความเจ็บปวดและการบรรเทาความเจ็บปวดในระยะคลอด
สาเหตุของความเจ็บปวดในการคลอด
ระยะที่ 1 ของการคลอด (First stage)
Early first stage
การหดรัดตัวของมดลูกส่วนบนทําให้ดึงรั้งมดลูกส่วนล่างให้ยืดขยายตัว
ช่องคลอด กระเพาะปัสสาวะ ลําไส้และเอ็นต่างๆที่ยึดอวัยวะเหล่านี้จะถูกตึงรั้งขึ้น
การดึงรั้งกระตุ้น posterior nerve root ganglia บริเวณ T11, T12 ให้ส่งกระแแสความเจ็บปวดไปยังสมอง
ปลายระยะ first stage
กระแสความเจ็บปวดแผ่กว้างไปกระตุ้นเส้นประสาทบริเวณ T10 และ L1
ปากมดลกมีการเปิดขยายและบางมากขึ้น เซลล์ประสาทบริเวณต่างๆถูกกดเพื่อรองรับส่วนนําของทารกที่กดลงมาบริเวณพื้นเชิงกรานและช่องคลอด
ระยะที่ 2 ของการคลอด (Second stage)
ความเจ็บปวดมาจากการหดรัดของมดลูกและแรงเบ่งของกล้ามเนื้อหน้าท้องทําให้มีการเปิดขยายของหนทางคลอดและบริเวณฝีเย็บ
กระแสความเจ็บปวดส่งผ่านเส้นประสาท pudendal ผ่าน Sacral plexus ไปตาม posterior nerve root ganglia ที่บริเวณ Sacral (S2, S3, S4)
ความเจ็บปวดเกิดขึ้นตื้นๆ บริเวณฝีเย็บและรอยต่อต่างๆ ทําให้ผู้คลอดรู้สึกอยากเบ่งโดยไม่สามารถควบคุมได้
ระยะที่ 3 ของการคลอด (Third stage)
ความเจ็บปวดมาจากการหดรัดตัวของมดลูกส่วนบน และมดลูกส่วนล่างมีการขยาย เพื่อให้รกคลอด
กระแสประสาทถูกส่งผ่านเช่นเดียวกับความเจ็บปวดในระยะ First stage
ปัจจัยที่มีผลต่อระดับความเจ็บปวดในระยะคลอด
ปัจจัยทํางกํายภําพ (Physical factors)
ขนาด ส่วนนําและท่าของทารกในครรภ์ (fetal size, presentation, and position)
อายุของผู้คลอดและจํานวนครั้งของการคลอด (maternal age and parity)
ความแรงและระยะเวลาของการหดรัดตัวของมดลูก (intensity and duration)
ลักษณะทางกายวิภาคของเชิงกรานผู้คลอด
ปัจจัยทางด้านจิตสังคม (Psychological factors)
ผู้คลอดที่มีความกลัว ความเครียด หรือความวิตกกังวลมากจะไปกระตุ้นระบบประสาท sympathetic ทำให้มีการหลั่งฮอร์โมน Catecholamine เพิ่มมากขึ้น ทำให้กล้ามเนื้อมีความตึงเครียดมากขึ้น ส่งผลให้มีความเจ็บปวดมากขึ้นเชื่อมโยงเป็นวงจรต่อเนื่องกัน คือ fear-tension-pain syndrome
ทฤษฎีความเจ็บปวด
ทฤษฎีควบคุมประตู
(gate control theory)
ใยประสาทขนาดใหญ่ และใยประสาทขนาดเล็กนำกระแสความเจ็บปวดเข้ำสู่ spinal cord,brain stem, cerebral cortex
Spinal cord มีกลุ่มเซลล์ทำหน้ำที่ปิด-เปิดประตู
ทฤษฎีการควบคุมความเจ็บปวดภายใน
(endogenous pain control theory)
สำร Endorphins ออกฤทธิ์ที่ opiate
receptor ทำให้ยับยั้งใยประสาทที่นำกระแสความเจ็บปวดในระบบประสำทส่วนกลางและส่วนปลาย การรับรู้ความเจ็บปวดจึงลดลง
ผลที่เกิดขึ้นจากความเจ็บปวดในการคลอด
ผลต่อผู้คลอด
การคลอดยาวนาน
ระบบหายใจ
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ระบบทางเดินอาหาร
-อารมณ์ ความรู้สึก
ผลต่อทารกในครรภ์
ทารกในครรภ์ขาดออกซิเจน
กำรบรรเทำควำมเจ็บปวดในระยะคลอดโดยไม่ใช้ยำ(Non-pharmacological therapy)
Psychological therapy เพื่อปรับเปลี่ยนการรับรู้ความเจ็บปวด การเบี่ยงเบนความสนใจ
การสะกดจิต (Hypnosis)
การใช้สุคนธบำบัด (Aromatherapy)
การใช้ดนตรีบำบัด (Music therapy)
การใช้เทคนิคการผ่อนคลายและเทคนิคการหายใจ (Relaxation and breathing)
Physical therapy
การแก้ไขความผิดปกติในการทำงานของร่างกายทางกายภาพ ตามกลไกการควบคุมการปิด-เปิดประตูที่ Substantia gelationosa ใน spinal cord ทำให้ประตูปิดลงกระแสความเจ็บปวดไม่สามารถส่งผ่านไปยังสมองได้
การแช่ในน้ำธรรมดาหรือน้ำอุ่น (Water immersion)
การฝังเข็มและการกดจุด (Acupuncture and acupressure)
การนวด (Massage)
การลูบหน้าท้อง (Effleurage or cutaneous stimulation)
การเคลื่อนไหว (Movement and positioning)
การใช้คลื่นกระแสไฟฟ้า (Transcutaneous electrical nerve stimulation) (TENS)
การใช้ความร้อนและความเย็น (Heat and cold compress)
ข้อดีและข้อจํากัดของการบรรเทาความเจ็บปวดในระยะคลอดโดยไม่ใช้ยา
ข้อดี
ร่างกายสำมำรถสร้ำงสำร endorphin ออกมาได้มากพอที่จะลดความเจ็บปวด
ไม่เป็นอันตรำยต่อผู้คลอดและทำรกในครรภ
เป็นเอกสิทธิ์ของพยาบาลผดุงครรภสามารถให้การดูแลช่วยเหลือผู้คลอดได้ อย่ำงอิสระ
ข้อจํากัด
ต้องมีการเตรียมตัว วิธีการบรรเทาความเจ็บปวดในระยะคลอดโดยไม่ใช้ยาต้องเริ่มต้นตั้งแต่ผู้คลอดยังไม่เข้ำสู่ระยะคลอด
ต้องอาศัยความร่วมมือกันอย่ำงจริงจังและต่อเนื่อง
อาการเจ็บครรภ์ไม่ได้ถูกควบคุมหรือระงับให้หมดสิ้นไป
การนวด (Massage)
การนวดเบาๆ บริเวณหน้าท้อง
นวดถูโดยการออกแรงมากๆ บริเวณที่รู้สึกปวดมากที่สุด
เมื่อผู้คลอดรู้สึกปวดมากบริเวณหลัง ใช้ฝ่ามือนวดเป็นวงกลมเหนือบริเวณตรงกลางด้านหลังหรือเหนือ Sacrum
นวดถูลงตามความยาวของแนวหลัง ก้น และต้นขาด้านหลัง
นวดบริเวณหน้าผาก ลงมาที่คอ ไหล่และแขนทั้ง 2 ข้าง
การนวดบริเวณฝีเย็บ
การลูบหน้าท้อง (Effleurage)
ห่อมือลักษณะนิ้วมือชิดกัน วางมือทั้ง 2 ข้างบริเวณหัวหน่าว ลูบมือขึ้นด้านข้างของหน้าท้องเบาๆ พร้อมทั้งหายใจเข้าลึกๆ ช้าๆ จนมือทั้ง 2 ข้างมาพบกันบริเวณยอดอก
การส่งเสริมความสุขสบายในระยะคลอด
การประเมินระดับประสบการณ์ของความเจ็บปวด
การพูดถึงความเจ็บปวด
การตอบสนองต่อความเจ็บปวด
การแสดงออกของใบหน้า
ท่าทางของผู้คลอด
ความดันโลหิต ชีพจร การหายใจ
สีผิว
เป้าหมายของการพยาบาล
เพื่อบรรเทาความเจ็บปวดในระยะคลอด
ลดความรุนแรงของความเจ็บปวด เพื่อให้ผู้คลอดได้พักอย่างเต็มที่และมีส่วนร่วมในกระบวนการคลอด
ลดความรู้สึกว่าถูกรบกวนจากความเจ็บปวด เพื่อให้การคลอด
มีความก้าวหน้ามากขึ้น ลดความเหนื่อยล้าจากการคลอด
การพยาบาลเพื่อบรรเทาความเจ็บปวดในระยะคลอด
ให้ข้อมูล อธิบายให้ผู้คลอดเข้าใจระดับความเจ็บปวดระยะต่างๆ กระบวนการคลอด
เน้นการลดความเจ็บปวดในระหว่างที่มดลูกหดรัดตัว ส่งเสริมให้ผ่อนคลาย
ส่งเสริมให้ใช้สมาธิระหว่างมดลูกหดรัดตัว
ส่งเสริมความสุขสบายของสภาพแวดล้อม การใช้วิธีบรรเทาความเจ็บปวด จัดท่าผู้คลอดตามที่ต้องการ
ส่งเสริมการใช้เทคนิค psychoprophylaxis และส่งเสริมสัมพันธภาพที่ดีระหว่างคนในครอบครัว