Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสร้างเสริมความเข้มแข็งของครอบครัวและชุมชน, การระดมทรัพยากร (Resource…
การสร้างเสริมความเข้มแข็งของครอบครัวและชุมชน
ส่วนที่ 1 การเสริมสร้างความเข้มแข็งของครอบครัวและชุมชน
กระบวนการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
ขั้นตอนที่ 2 การกำหนดประเด็นปัญหาของชุมชนและการพัฒนาทางเลือกเพื่อดำเนินกิจกรรม
ขั้นตอนที่ 3 การดำเนินกิจกรรมสาธารณะของชุมชน
ขั้นตอนที่ 4 การขยายเครือข่ายความร่วมมือ
ขั้นตอนที่ 1 การเตรียมคน หรือ การพัฒนาทรัพยากรบุคคล โดยผู้นำหรือแกนนำที่ประสบความสำเร็จ ส่วนใหญ่เป็นบุคคลมีลักษณะดังนี้
องค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับชุมชนเข้มแข็ง มีดังนี้
มีอุดมการณ์และวิสัยทัศน์ร่วม
การจัดองค์กรและการบริหารจัดการ
การมีกิจกรรมที่ต่อเนื่อง
ทุน
เครือข่ายร่วมมือ
สิทธิอำนาจต่อรองทางการเมือง
เกิดการยอมรับจากตสังคมภายนอก
พัฒนาการของการสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
ประชาสังคม
ประชาคม ประชาสังคม ชุมชน องค์กรเอกชน
ในด้านสาธารณสุข
การวิเคราะห์ความเข้มแข็งของชุมชน ประกอบด้วย
โครงสร้างพื้นฐานที่เอื้ออาทรต่อการเป็นประชาคม
กระบวนการเฉพาะบางอย่าง
ผู้นำ
กระบวนทัศน์เกี่ยวกับการพัฒนาชุมชนแบบมีส่วนร่วม
ความสัมพันธ์ระหว่างคนในชุมชนกับสถาบันต่าง ๆ ในชุมชน
ความรู้สึกร่วมเป็นกลุ่มชุมชนเดียวกัน และมองหาทางออกของความร่วมมือในชุมชน
หัวใจของการพัฒนาแบบยั่งยืนอยู่ที Community Organization ซึ่งประกอบด้วย
Community Organization มีการรวมตัวเป็นชุมชน
Learning ต้องเป็น Active Learning ไม่เป็นแบบ Teaching
Knowledge คือ ตัวความรู้ ซึ่งจะต้องมีการเรียนรู้และทำให้ความรู้นั้นเป็นประโยชน์
ส่วนที่2 การเสริมสร้างพลังอำนาจ
ความหมายของการมีส่วนร่วม
การมีส่วนร่วมด้วยการกระทำทางกาย (Community Participation)
การมีส่วนร่วมด้วยใจ(CommunityInvolvement) เป็นการให้ความร่วมมือกระทำกิจกรรมต่างๆของชุมชนด้วยความเต็มใจ
แนวทางการสร้างเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน
เทคนิการกระตุ้นให้ประชาชนมีส่วนร่วม
1.เทคนิคทางจิตวิทยา
เทคนิคการประชาสัมพันธ์
เทคนิคด้านการบริหาร
ปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมของชุมชน
การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาชุมชนจะเกิดขึ้นมากน้อยเพียงใด ต้องอาศัยปัจจัยหลายประการ
2.ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการบริหารใน ระบบราชการ
ปัจจัยทางด้านจิตวิทยา สังคม และวัฒนธรรมของชุมชน
ความสัมพันธ์ระหว่างเจ้าหน้าที่ของรัฐกับประชาชน
ปัญหาและอุปสรรคที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมของประชาชน
ปัญหาส่วนใหญ่ที่พบจะเป็นปัญหาด้านนโยบายของรัฐ ที่เกี่ยวกับการขาดการรับฟังความคิดเห็น และกระบวนการทำงานร่วมกับภาคประชาชน
1.ปัญหาด้านนโยบายและองค์กรของรัฐ แบ่งได้เป็น2 ระดับคือ
2 ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับประชาชน แบ่งได้เป็น 2กลุ่ม
ความหมายของการเสริมสร้างพลัง
เรพพาพอร์ต (Rappaport, 1984)
2.วอลเลอร์สตีนและเบอร์นสตีน (WallersteinandBernstein,1988)
มิงค์เลอร์ (Minkler, 1990)
พจนานุกรมเวบสเตอร์ (Webster, 1991)
5.กิบสัน(Gibson,1991)
บัน (Baum, 2002)
บทบาทที่สำคัญของพยาบาล ในการพัฒนาการเสริมสร้างพลังของปัจเจกบุคคล
พยาบาลจะต้องมีบทบาทในการสนับสนุนให้เกิดสภาพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการดูแลตนเองของบุคคล ครอบครัวและชุมชน โดยมีบทบาทที่สำคัญ ดังนี้
จัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาการสร้างเสริม พลังในการดูแลตนเอง
สนับสนุนให้เกิดนโยบายสาธารณะท่ีสีงผลดีต่อสุขภาพ พยาบาลมีบทบาทสำคัญในการกระตุ้นหรือสนับสนุนให้มีความตระหนักและเห็นความสำคัญเรื่องสุขภาพของประชาชน
ชี้แนะให้บุคคลในสังคมให้ความนำคัญกับการดูแลตนเอง การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกัน การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดพฤติกรรมเสี่ยงของปัญหาสุขภาพของชุมชน
2.เป็นผู้กระตุ้น และสนับสนุนในบุคคลมีความเข้มแข็ง และเชื่อมั่นในความสามารถของตนเอง
1.เป็นผู้สนับสนุนการเรียนรู้ เป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ด้าสนุขภาพ ชี้นําเรื่องสุขภาพแก่ประชาชน ต้องเชื่อในความสามารถของบุคคลที่จะเรียนรู้จากประสบการณ์
ขอบเขตของการส่งเสริมพลังชุมชน
การมีส่วนร่วม (Participation)
ภาวะผู้นํา (Leadership)
โดยสร้างองค์กร (Organization structures)
การเชื่อมโยงกับประชาชนและองค์กรอื่น (Links with Other People and Organization)
บทบาทขององค์กรภายนอก (The Role of Outside Agents)
การบริหารจัดการชุดโครงการ (Programme Management)
การประเมินปัญหา (Problem Assessment)
การต้ังคําถาม“ทําไม?(จึงเป็นเช่นนั้น”)
ตัวอย่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้าง
1.การอภิปรายกลุ่ม (Group discussion)
2.การอภิปรายกลุ่มเล็ก (Small groups/Buzz group)
3.การระดมสมอง (Brainstorming)
Link Title
การสาธิตและนำการปฎิบัติ (Demonstration and guided practice)
5.การเเสดงบทบาทสมมติ (Roie play)
6.การใช้เกม หรือ สถานการณ์จำลอง (Games and simulations)
7.การเล่าเรื่อง/กรณีศึกษา (story telling/case studies)
8.การโต้วาที (Debates)
9.การทำเเผนที่การตัดสินใจหรือแผนภูมิเเขนงกิ่งไม้ของปัญหา (Decision mapping or probiem trees
กระบวนการของการเสริมสร้างพลังชุมชน
การเสริมสร้างพลังชุมชน มีลักษณะเป็น รูปแบบความต่อเนื่อง 5จุด
การเสริมสร้างพลังบุคคลเพื่อปฎิบัติการบุคคล
การเสริมสร้างพลังบุคคลเพื่อการพัฒนากลุ่มช่วยเหลือกันเองขนาดเล็ก
องค์กรชุมชน
การเสริมสร้างพลังองค์กรชุมชนเพื่อการพัฒนาความเป็นหุ้นส่วน
การเสริมสร้างพลังชุมชนเพื่อปฎิบัติการสังคมและการเมือง
การระดมทรัพยากร (Resource Mobilization)