Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กลุ่มจิตวิทยา - Coggle Diagram
กลุ่มจิตวิทยา
กลุ่ม Structuralism
ผู้นำกลุ่มWilhelm Max Wundt
ความเชื่อเบื้องต้นของกลุ่มStructuralism ว่ามนุษย์ประกอบด้วยร่างกายเเละจิตใจ
กลุ่มนี้เชื่อว่าโครงสร้างของจิตประกอบด้วยจิตกับธาตุซึ้งประกอบด้วยการรับสัมผัส ความรู้สึก
อิทธิพล หรือบทบาทสําคัญของจิตวิทยากลุ่ม Structuralism ที่มีต่อการศึกษา
การยอมรับเอาระเบียบวิธีที่ว่าด้วยการแยกจิตออกฝึกเป็นส่วนๆ
ความเชื่อในเรื่ององค์ประกอบของบุคคล ยอมรับว่า บุคคลประกอบด้วย ร่างกายและจิตใจ
จิตใจยังแบ่งย่อยได้
กลุ่ม Behaviorism
ผู้ให้กําเนิดหรือผู้นํากลุ่มคือพาฟลอฟ (Pavlov)
สาระสําคัญของแนวทัศนะกลุ่มพฤติกรรมนิยามไว้ 3 ประการ คือ
พฤติกรรมของคนที่ปรากฏขึ้นส่วนมากเกิดจากการเรียนรู้มากกว่าจะเป็นไปเองตาม
ธรรมชาติ
การเรียนรู้ของคนกับสัตว์ไม่ต่างกันมาก
การวางเงื่อนไข (Conditioning) เป็นสาเหตุสําคัญที่ทําให้เกิดและเปลี่นแปลง
กลุ่ม Behaviorism ประกอบด้วยกลุ่มย่อยหลายกลุ่ม เช่น
กลุ่มโมเลกุล (Molecularism)
เน้นความสําคัญ
ของแรงขับ(Drive) ว่าเป็นองค์ประกอบที่ก่อให้เกิดการแสดงพฤติกรรมในลักษณะที่เป็นอนุกรม
กลุ่มจุดประสงค์นิยม (Purposivism)
เชื่อว่าการแสดงพฤติกรรมของสิ่งที่มีชีวิตทั้งหลายย่อมเกิดจากแรงขับ เกิดขึ้นได้ก็เพราะสิ่งที่มีชีวิตมีจุดมุ่งหมายที่ต้องการจะกระทํา
กลุ่มที่อาศัยความรู้ความเข้าใจในเรื่องปฏิกิริยาสะท้อน (Reflexology)
มุ่งศึกษา
พฤติกรรมง่ายๆ และการแสดงปฏิกิริยาสะท้อน
กลุ่มที่อาศัยความรู้ความเข้าใจเรื่องสมอง (Cerebrology)
กลุ่มนี้นําเอาความรู้
ความเข้าใจในวิชาสรีรวิทยามาใช้ในการอธิบายเรื่องพฤติกรรม
กลุ่ม Gestaltism หรือ The Gestalt Psychology
เคอร์ท เลวิน (Kurt Lewin)ให้กําเนิด
แนวคิดที่สําคัญของจิตวิทยาเกสตอลท์มี 2 ประการ
การรับรู้ (Perception)
การที่คนเราจะรับรู้สถานการณ์ โดยเข้าใจได้ทั้งหมดนั้นจะต้อง
รับรู้ส่วนรวมทั้งหมดนั้นจะต้องรับรู้ส่วนรวมทั้งหมด
การหยั่งเห็น (Insight)
กลุ่ม Gestalt เชื่อว่าการแก้ปัญหาเป็นวิธีการเรียนรู้ของคนและ
สัตว์ชั้นสูงความคิดที่เกิดขึ้นเมื่อมีการแก้ปัญหาทําให้ลุล่วงไปได้เรียกการหยั่งเห็น
ได้รับอิทิพลมาจาก St. Thomas เชื่อว่าวิญญาณเป็นรูปของส่วนรวม
เป็นหนึ่ง แบ่งแยกต่อไปไม่ได้
กลุ่ม Functionalism
ผู้ให้กําเนิดหรือผู้นํากลุ่มคือ จอห์น ดิวอี้ John Dewey
แนวคิดของกลุ่ม Functionalism
มีอิทธิพลมากต่อวงการศึกษาปัจจุบัน เนื่องจากความุ่งหมายของการศึกษาประการหนึ่งคือเพื่อให้มนุษย์ดํารงชีวิตอยู่ในสังคมได้ด้วยความผาสุก การปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมจึงเป็นเรื่องต้องศึกษา
ได้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้ากับปฏิกิริยาตอบสนองความคิดของ
กลุ่ม Functionalism ได้ว่ามี 2 ประการ คือ
การกระทํา
การแสดงออกทั้งหมดขึ้นอยู่หรือเกี่ยวข้องกับประสบการณ์ของแต่ละคน
เสมอ พฤติกรรมของคนจึงแตกต่างกัน
การกระทําทั้งหมด (The total activities)
แสดงออกของคนเราเป็นการ
แสดงออกของจิตเพื่อปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม
จิตวิทยากลุ่มนี้มีแนวความคิดมาจาก
ลัทธิปรัชญากลุ่มนี้ปฏิบัตินิยม (Pragmatism) และทฤษฎีที่สําคัญทางชีววิทยา อันได้แก่ทฤษฎีที่ว่าด้วยวิวัฒนาการ (Theory of Evolution) ของ CharlesDarwin
กลุ่มมนุษยนิยม (Humanism)
ผู้นํากลุ่มคือ คาร์ล อาร์ โรเจอร์ส
ความเชื่อเบื้องต้นของนักจิตวิทยากลุ่มนี้คือ
เชื่อว่ามนุษย์ ก็คือ สัตว์โลกประเภทหนึ่ง มีจิตใจ มีความต้องการความรัก ความอบอุ่น
ความเข้าใจ
เชื่อว่ามนุษย์เราทุกคนต่างก็พยายามจะรู้จักและเข้าใจตนเอง
มีความเชื่อว่า ในเมื่อมนุษย์เราทุกคนต่างก็เข้าใจผู้อื่น และยอมรับตนเองอยู่แล้ว
เนื่องจากมนุษย์เราแต่ละคนต่างพยายามปรับปรุงตนเองให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์
มีความเห็นว่า วิธีการค้นคว้าเสาะแสวงหาความรู้หรือข้อเท็จจริงต่างๆ เป็นสิ่งจําเป็นและมี
ความสําคัญกว่าตัวความรู้หรือข้อเท็จจริง
มีบทบาทในการศึกษา
เพื่ออธิบายพฤติกรรม ส่งเสริมการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น แต่อย่าเข้าใจว่าลําพังวิชาจิตวิทยาอย่างเดียวจะทําให้เราเข้าใจพฤติกรรมของมนุษย์ได้แจ่มแจ้ง
กลุ่ม Psychoanalysis
จิตแพทย์
Sigmund Freudก่อตั้ง
พื้นฐานแนวความคิดของกลุ่มนี้มาจาก
จิตแพทย์ (Psychiatry) ใช้ระเบียบวิธีการศึกษาพฤติกรรมของบุคคล ด้วยการแยก
จิตออกวิเคราะห์
จิตวิทยากลุ่มที่เน้นความสําคัญของความมุ่งหมาย (Purposive Psychology) ที่ว่า
การแสดงพฤติกรรมของบุคคล
วิชาฟิสิกส์ จากทฤษฎีการคงรูปของพลังงาน ที่ว่าพลังงานย่อมไม่สูญหายไป
ฟรอยด์มีความคิดว่า มนุษย์เรามีจิต 3 ลักษณะ
จิตใต้สํานึก (Subconscious mind) หรือจิตกึ่งรู้สํานึก คือสภาพที่ไม่รู้ตัวในบางขณะ เช่น กระดิกเท้า ผิวปาก โดยไม่รู้ตัว
จิตไร้สํานึก (Unconscious mind) เป็นส่วนของพฤติกรรมภายในที่เจ้าตัวไม่รู้สึกตัวเลย
อาจเนื่องมาจากเจ้าตัวพยายามเก็บกดเอาไว้
จิตสํานึก (Conscious mind) คือสภาพที่มีสติ รู้ตัว รู้ว่าตัวกําลังทําอะไรอยู่
ความคิดหลักของ Freud คือพลังงานจิตนี้
เป็นผู้ควบคุมการกระทํากิจกรรมต่างๆ ของร่างกายทั้งหมด
Freud กําหนดองค์ประกอบที่สําคัญของจิต )ไว้ 3ส่วน คือId, Ego และ Superego ซึ่งเรียก “พลังจิต”
1.Id
หน้าที่ของ Id
สร้างแรงขับสัญชาตญาณออกมาเพื่อให้บุคคลแสดงพฤติกรรม
กระตุ้นให้บุคคลแสดงพฤติกรรมออกมาเพื่อให้สอดคล้องกับหลักแห่งความพึงพอใจ
เป็นแกนกลางของบุคลิกภาพของบุคคล
Ego
หมายถึงสิ่งต่างๆที่บุคคล
ได้รับมาจากการเรียนรู้ เป็นพลังส่วนที่ผ่านกระบวนการเรียนรู้มาแล้ว
หน้าที่ของ Ego
ควบคุมการแสดงพฤติกรรมของบุคคลให้สอดคล้องกับหลักแห่งความเป็นจริง
คือควบคุมความอยากอันไม่เป็นที่พึงปรารถนาของสังคมมิให้ปรากฏออกมา
ภายนอกได้ ใช้หลักความเป็นจริง
ผ่อนคลายความทุกข์เนื่องจากการเก็บกด ระงับความขัดแย้งระหว่างความต้องการเพื่อ
สนองความพอใจของตน
ทําให้บุคคลเป็นผู้มีวุฒิภาวะ (Maturity) คือสะสมความสามารถ รู้จักตน พึ่งตนเองได้
เมื่อเผชิญกับแรงดันจากความเป็นจริงภายนอก
Superego
คือผลจากการถูกลงโทษภายนอก ทําให้เกิดการเรียนรู้ และสะสม
รวบรวมกันเข้าเป็นอุดมคติ
หน้าที่ของ Super – ego
แก้ปมด้อยออดิปุส (Oedipus complex) ซึ่งเป็นปมด้อยของพัฒนาการทางเพศ และสร้าง
อุดมคติที่พึงปรารถนาของสังคม