Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ละครไทย ตามความหมายนี้หมายถึงละครรำ เพราะว่าเป็นการแสดงออกทางความคิดโดยมุ่…
ละครไทย ตามความหมายนี้หมายถึงละครรำ เพราะว่าเป็นการแสดงออกทางความคิดโดยมุ่งเน้นถึงลักษณะท่าทางอิริยาบถในขณะเคลื่อนไหวตัวในระหว่างการรำ
ละครรำ
ละครรำแบบมาตรฐานดั้งเดิม
ละครนอก
เป็นละครที่แสดงกันนอกราชธานีแต่เดิมคงมาจากการละเล่นพื้นเมือง และร้องแก้กันแล้วต่อมาภายหลังจับเป็นเรื่องเป็นตอนขึ้นเป็นละครที่ดัดแปลงวิวัฒนาการมาจากละคร "โนห์รา" หรือ "ชาตรี"
-
-
ละครชาตรี
เป็นละครที่มีมาแต่สมัยโบราณและมีอายุเก่าแก่กว่าละครชนิดอื่นๆมีลักษณะเป็นละครเร่คล้ายของอินเดียที่เรียกว่า "ยาตรี"
-
ละครที่ปรับปรุงขึ้นใหม่
ละครพันทาง
ดำเนินเรื่องด้วยคำร้อง เนื่องจากเป็นละครแบบผสมแล้วประกอบกับเป็นละครที่ไม่แน่นอนว่า ดังนั้นบางแบบต้นเสียง และคู่ร้องทั้งหมดเหมือนละครนอก ละครในบางแบบต้นเสียงลูกคู่ร้องแต่บทบรรยายกิริยา ส่วนบทที่เป็นคำพูดตัวละครจะร้องเองเหมือนละครร้อง
-
-
ละครดึกดำบรรพ์
มีการปรับปรุงการแสดงความเป็นไปในเนื้อเรื่องของละครดึกดำบรรพ์ แสดงให้สมจริงสมจังมากที่สุด มีการตกแต่งฉาก และสถานที่ ใช้แสง สีเสียง ประกอบฉากเป็นต้นแบบในการจัดฉากประกอบการแสดงของโขน
-
-
ละครร้อง
ละครร้องล้วน ๆ
ตัวละครขับร้องโต้ตอบกัน และเล่าเรื่องเป็นทำนองแทนการพูดดำเนินเรื่องด้วยการร้องเพลง ไม่มีบทพูดแทรก มีเพลงหน้าพาทย์ประกอบกิริยาของตัวละคร จัดฉากตามท้องเรื่อง ใช้เทคนิคอุปกรณ์แสงสีเสียงเพื่อสร้างบรรยากาศให้สมจริง
-
ละครร้องสลับพูด
มีทั้งบทร้อง และบทพูด ยึดถือการร้องเป็นส่วนสำคัญ บทพูดเจรจาสอดแทรกเข้ามาเพื่อทวนบทที่ตัวละครร้องออกมา แม้ตัดบทพูดออกทั้งหมดเหลือแต่บทร้องก็ยังได้เนื้อเรื่องสมบูรณ์ มีลูกคู่คอยร้องรับอยู่ในฉาก ยกเว้นแต่ตอนที่เป็นการเกริ่นเรื่องหรือดำเนินเรื่อง ลูกคู่จะเป็นผู้ร้องทั้งหมด ตัวละครจะทำท่าประกอบตามธรรมชาติมากที่สุด
-
-
ละครพูด
-
ละครพูดสลับลำ
ยึดถือบทพูดมีความสำคัญในการดำเนินเรื่องแต่เพียงอย่างเดียว บทร้องเป็นเพียงสอดแทรกเพื่อเสริมความ ย้ำความ
-
ละครสังคีต
มุ่งหมายที่ความไพเราะของเพลง ตัวละครจะต้องร้องเอง แต่ต่างกันที่ละครร้องดำเนินเรื่องด้วยบทร้อง ละครสังคีตมุ่งบทร้องและบทพูดเป็นหลักสำคัญในการดำเนินเรื่อง เป็นการแสดงหมู่ที่งดงาม ในการแสดงแต่ละเรื่องจะต้องมีบทของตัวตลกประกอบเสมอ
-
-