Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิเคราะห์ สังเคราะห์ และสรุปข้อค้นพบ - Coggle Diagram
วิเคราะห์ สังเคราะห์
และสรุปข้อค้นพบ
1 การวิเคราะห์ข้อมูลมีวิธีการอย่างไร?
สิ่งที่พบเจอในชีวิตประจำวัน
1.1 ความหมาย ความสำคัญของการวิเคราะห์ข้อมูล การนำสิ่งที่ได้ยิน ได้ฟัง ได้รับรู้ ได้ศึกษาค้นคว้ารวบรวมข้อมูล
ความสำคัญของการวิเคราะห์
เข้าใจข้อมูล
มีความรู้เพิ่มเติม
มีวิจารณญาณในการใช้ชีวิต
กระบวนการคิดที่มีประสิธิภาพ
1.3การสรูปผลการวิเคราะห์ เมื่อได้ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากการวอเคราะห์เชิงพรรณนาเเละเชิงปริมาณเเละสรุปผลการวอเคราะห์
2 สรุปรูปเเบบตารางเเผนภูทสถิติเป็นการสรุปโดยการอ่านผลการวิเคราะห์ที่ได้มาเขียนเป็นตาราง
1สรุปในรุปเเบบการบรรยาย สรุปดดยการบรรยายเป็นความเรียงเป็นเรื่องราวด้วยอักษร
1.2นำประเด็ดสำคัญที่เข้าใจ
1.3เขียนสรุปจากประเด็นสำคัญอีกครั้ง
1.1อ่านการวิเคราะห์ให้เข้าใจ
อ่านผลการวิเคราะห์
นำประเด็นสำคัญมาออกกเเบบ
1.2 รูปเเบบการวิเคราะห์
1 วิเคราะห์เชิงพรรณนา ข้อมูลที่อาศัยกระบวนทางวิทยาศาสตร์ในการวิเคราะห์อย่างเป็นละบบ
2 การวิเคราะห์เชิงปริมาณ เป็นข้อมูลที่อาศัยค่าสถิติมาจักการข้อมูลประเภทตัวเลข
2.1 ค่าร้อยละ เป็นการวิเคราะห์เชิงคุณภาพที่เเสดงการเปรียบเทียบ
2.2 ค่าเฉลี่ยเลขคณิต วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยวัดออกมาเป็นค่าของตัวเลขดดยตรง
2การสังเคราะห์เพื่อสรุปข้อค้นพบต้องใช้วิธีใด สังเกตข้อมูลที่มีความสำคัญ
2.2 การเรียบเรียงข้อค้นพบ
เมื่อได้ศึกษาค้นคว้าข้อมูลที่หลากหลายแล้ว ผู้ค้นคว้าจะเกิดข้อค้นพบใหม่ ซึ่งอาจเป็น องค์ความรู้ หลักการ หรือแนวคิด ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการสร้างสรรค์องค์ความรู้ใหม่เพื่อใช้ ในการแก้ปัญหาหรือพัฒนาสิ่งอื่นๆ ในอนาคต การเรียบเรียงข้อค้นพบมีหลักที่ต้องคำนึงถึง ดังนี้
1) แนวคิด หลักการ วิธีการ
การค้นพบแนวคิด หลักการ หรือวิธีการจากข้อมูลที่ได้ ศึกษามา ต้องเป็นข้อค้นพบที่มีความน่าเชื่อถือ ผ่านการติดอย่างละเอียด สามารถอ้างอิงจาก ผู้ที่ได้รับการยอมรับในด้านที่เกี่ยวข้องได้ เพื่อให้ข้อค้นพบนั้นมีความชัดเจนมากยิ่งขึ้นและได้รับ การยอมรับในอนาคต
2) ขั้นตอน กระบวนการ รูปแบบ
การปฏิบัติตามขั้นตอน กระบวนการ หรือรูปแบบ เพื่อเรียบเรียงข้อค้นพบ จะช่วยให้สามารถตรวจสอบความถูกต้องของข้อค้นพบอีกครั้งหนึ่ง ซึ่งมี กระบวนการเรียบเรียงข้อค้นพบ ดังนี้
1)กล่าวถึงปัญหาหรือค่าถามที่กำหนดไว้ เพื่อค้นหา
แอบ
2)แสดงวัตถุประสงค์ของการค้นหาคำตอบ
3)เขียนสรุปกระบวนการทั้งหมด เริ่มจากการศึกษาค้นคว้า วิธีการ รวบรวมข้อมูล เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การสังเคราะห์ข้อมูล จนกระทั่งได้มา ซึ่งข้อค้นพบ
4)เรียนสรุปผลข้อค้นพบที่ให้ โดยเขียนให้เชื่อมโยงกันวัตถุประสงค์ ที่กำหนดไว้ เพื่อเน้นให้เห็นถึงการตอบสนองวัตถุประสงค์ที่ได้อย่างแท้จริง
5)เขียนเสนอแนะแนวทางที่ได้จากการสรุปผลและข้อค้นพบ เพื่อประโยชน์ ในการต่อยอดองค์ความรู้ เพื่อนำไปใช้กับชุมชน หรือสังคมต่อไป
3) การตั้งชื่อเรือง
ข้อมูลที่ศึกษาค้นคว้าและรวบรวม จะได้รับการตั้งชื่อเรื่องตามวัตถุประสงค์ของการหาข้อสรุปหรือ ข้อค้นพบ โดยอาจอยู่ในรูปแบบของบทความ โครงงาน งานวิจัย ในการตั้งชื่อเรื่องสิ่งที่ควรคำนึงถึง มีดังนี้
1)ตั้งเซียเรียงให้สั้น การรับ ใช้ภาษาที่เข้าใจรถ สามารถ ความหมายเฉพาะเรื่องได้ แต่ไม่ควรสั้นเกินไปในขวด ความหมายทางวิชาการ
2)ตั้งชื่อเสียงให้ตรงกับประเด็น รองปัญหาเพื่อให้ผู้อ่านทราบว่า เป็นการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับสิ่งใด ได้ทันที
3)ตั้งชื่อเรื่องไทยใช้ คำนาม ขึ้นฝัน จะทำให้เชื่อมีความไพเราะ มากกว่าการใช้ปากกีวีมาขึ้นต้น เช่น ใช้ชื่อว่า “การศึกษาวงจรชีวิตของ หนอนผีเสื้อ” แทน “ศึกษาวาร ชีวิตรอด เป็นต้น
4)ตั้งชื่อเรื่องด้วยความเรียงที่ สละสลวยและมีใจความสมบูรณ์ เช่น การศึกษาความสัมพันธ์ ระหว่างเพศและการกล้าแสดงออก ต่อหน้าสาธารณชนของนักเรียน มัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียน นครสวรรค์ ปีการศึกษา 2559
4) การเขียนส่วนนำ เนื้อหา สรุป
การนำเสนอข้อมูลที่สมบูรณ์ต้องอาศัยส่วนประกอบ รบถ้วน ส่วนประกอบหลักที่สำคัญ มีดังนี้
1)ควรเรียนส่วหน้าที่อธิบายถึงความสำคัญของปัญหา เนื่องจากส่วนสำคัญที่สุด คือ ที่มาและความสำคัญของปัญหา ซึ่งเกิดจากกระบวนการคิดวิเคราะห์ พร้อมทั้งอ้างถึง หลักการและแนวดี เพื่อเป็นเหตุผลสนับสนุนความสำคัญของปัญหานั้น จากนั้นควร กำหนดกรอบแนวยึดในการดำเนินงาน เพื่อให้มีทิศทางการดำเนินงานที่ชัดเจน ตั้งแต่ ชั้นเริ่มต้นจนถึงขั้นตอนสุดท้าย
2)ควรเขียนเนื้อหาให้สออกต้องกับปัญหาที่กำหนดขึ้น เพื่อทำการศึกษาและทาร์ต ค้นพบ โดยเนื้อหาต้องมีความสัมพันธ์และเชื่อมโยงกัน จะนำไปสู่การสังเคราะห์ให้เกิด การบูรณาการ พัฒนาเป็นข้อค้นพบ และมีหลักฐานอ้างถึงที่น่าเชื่อถือ
3)ควรเขียนการสรุปผลให้สอดคล้องกับปัญหาที่ได้กล่าวไว้ในส่วนน่า เพื่อให้ได้มาสรุป ตามวัตถุประสงค์ของการศึกษา โดยสามารถเขียนในรูปแบบของการพรรณนา บรรยาย หรือในรูปแบบตาราง แผนภูมิ สถิติ ซึ่งจะทำให้เข้าใจได้ง่ายขึ้นและน่าไปใช้ประโยชน์ ในด้านอื่นต่อไป
2.1ความสำคัญของการสังเคราะห์ ความสามารถในการจัดกับข้อมูลที่ศึกษาค้นคว้า
ความสำคัญของการสังเคราะห์ข้อมูล
เข้าใจเรื่องต่างๆ
สร้างสรรค์สิ่งใหม่
เเสวหาความรู้
กระบวนการคิด
เเก้ปัญหา
2.3 การตรวจสอบข้อค้นพบ
การตรวจสอบข้อค้นพบเป็นวิธีการที่สำคัญวิธีการหนึ่ง หลังจากการเรียบเรียงข้อค้นพบ เพื่อให้สามารถมั่นใจและยืนยันได้ว่า ข้อค้นพบนั้นถูกต้องจริง โดยจะต้องมีหลักฐานในการอ้าง ข้อค้นพบนั้น
1) ตรวจสอบข้อค้นพบกับหลักฐาน ข้อมูลอ้างอิง ข้อค้นพบที่น่าเชื่อถือจะต้องเป็น ข้อค้นพบที่มีหลักฐานประกอบ หรือมีข้อมูลอ้างอิง เพื่อสนับสนุนข้อค้นพบนั้น แม้ว่าข้อค้นพบ จะได้มาจากกระบวนการวิเคราะห์ข้อมูล และการสังเคราะห์ข้อมูลอย่างละเอียดถี่ถ้วนตามลำพั แล้ว ตาม
2) ตรวจสอบข้อค้นพบกับสมมติฐาน ข้อค้นพบหรือองค์ความรู้ที่ได้จากการศึกษา ค้นคว้าจะต้องนำมาตรวจสอบกับสมมติฐานที่ได้ตั้งไว้ โดยเมื่อเริ่มต้นกำหนดปัญหา จะมีการ ตั้งสมมติฐานของปัญหานั้นไว้ เพื่อคาดเดาคำตอบล่วงหน้า การตรวจสอบข้อค้นพบกับสมมติฐาน จะช่วยให้สามารถดำเนินการต่อหรือสรุปข้อมูลได้อย่างถูกต้อง
3การจัดการข้อค้นพบทำอย่างไร
เมื่อสังเกตจนได้ข้อแค้นพบหรือองค์ความรู้จัดการสิ่งที่ได้มาโดยการนำไปใช้
3.1การใช้ตามวัตถุประสงค์ จัดการดดยใช้ข้อค้นพบหรือองค์ความรู้ตามวัตถุประสงค์คือ การนำข้อมูลและองค์ความรู้ที่สรุปได้มานำเสนอตามวัตถุประสงค์
3.2 การใช้ในกิจการงานอื่นๆ เพื่อประโยชน์ของสังคม การจัดหาข้อค้นพบหรือองค์ความรู้ในกิจการงานอื่นๆ