Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ซอฟต์แวร์และระบบปฏิบัติการ - Coggle Diagram
ซอฟต์แวร์และระบบปฏิบัติการ
4.1 ความหมายของซอฟต์แวร์ (Software)
ซอฟต์แวร์ หมายถึง กลุ่มของชุดคำสั่ง (Instruction) หรือ
โปรแกรมที่สั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานเพื่อประมวลผลตามที่ผู้ใช้ต้องการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ซอฟต์แวร์และระบบปฏิบัติการ
ซอฟต์แวร์หรือชุดคำสั่งแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่...
4.2 ภาษาคอมพิวเตอร์ (Programming (Programming Languages)
ภาษาคอมพิวเตอร์เป็นเรื่องของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ควรต้องเรียนรู้เกี่ยวกับภาษาคอมพิวเตอร์เพื่อใช้ในการพัฒนา
โปรแกรม โดยผู้เขียนโปรแกรมส่วนใหญ่ เรียกว่า “โปรแกรมเมอร์” เป็นผู้ที่พัฒนาโปรแกรมด้วยการเขียนชุดคำสั่งเพื่อสั่งให้
คอมพิวเตอร์ประมวลผล คอมพิวเตอร์รับคำสั่งการทำงานเป็นสัญญาณไฟฟ้า เรียกว่า “ภาษาเครื่อง” (Machine Language) ซึ่ง
มนุษย์ทำความเข้าใจยาก เนื่องจากเป็นรหัสตัวเลขแบบต่าง ๆ ไม่สะดวกต่อการสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงาน
4.3 ยุคของภาษาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์ได้ถูกพัฒนามาหลายยุคหลายสมัย ในยุคแรกการใช้ภาษา ยังมีความใกล้เคียงกับภาษาเครื่อง
คอมพิวเตอร์มาก เรียกว่า ภาษาระดับต่ำ แต่มีโครงสร้างและรูปแบบที่ยากต่อความเข้าใจของมนุษย์ ต่อมาได้พัฒนารูปแบบภาษาที่มีค
วามใกล้เคียงกับภาษามนุษย์เรียกว่า ภาษาระดับสูง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ซอฟต์แวร์และระบบปฏิบัติการ
ในยุคนี้จะสั่งงานคอมพิวเตอร์ ด้วยภาษาเครื่อง เป็นภาษาที่สื่อสาร
กับคอมพิวเตอร์ได้โดยตรง คำสั่งในภาษาเครื่องประกอบด้วย ตัวเลขฐานสอง มี 0 กับ 1 เป็นสัญลักษณ์แทนสัญญาณไฟฟ้า
เนื่องจากเป็นรูปแบบภาษาที่สื่อสาร กับคอมพิวเตอร์ได้โดยตรง จึงไม่ต้องมีตัวแปลภาษา การเขียนชุดคำสั่งในยุคนี้จะมีความยุ่งยาก
ในการเขียนเป็นอย่างมาก ยุคนี้จัดอยู่ในกลุ่มภาษาระดับต่ำ
ภาษาคอมพิวเตอร์ยุคที่ 1 (First Generation Language)
พัฒนามาจากยุคที่ 1 เมื่อการเขียนคำสั่งภาษาเครื่องทำได้ยาก จึง
ได้พัฒนาโดยนำสัญลักษณ์มาใช้แทนรูปแบบตัวเลขในภาษาเครื่องเพื่อให้สามารถเขียนคำสั่งได้ง่ายขึ้น ภาษาในยุคนี้ ได้แก่ ภาษาแอ
สเซมบลี แต่คอมพิวเตอร์ไม่เข้าใจความหมายของชุดคำสั่งที่เขียนขึ้น จึงต้องมีตัวแปลภาษาเรียกว่า แอสเซมเบลอร์ ที่ช่วยแปลคำสั่ง
ภาษาแอสเซมบลีให้เป็นภาษาเครื่อง เพื่อให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ ยุคนี้ยังจัดอยู่ในกลุ่มภาษาระดับต่ำ
4.5 ประเภทของซอฟต์แวร์ (ต่อ)
หรือโปรแกรมประยุกต์เป็นซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่ทำ ให้คอมพิวเตอร์ทำ
งานตามที่ผู้ใช้ต้องการ ไม่ว่าจะด้านเอกสาร บัญชี การจัดเก็บข้อมูล เป็นต้น
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ซอฟต์แวร์และระบบปฏิบัติการ
1) ซอฟต์แวร์สำหรับงานเฉพาะด้าน คือโปรแกรมซึ่งเขียนขึ้นเพื่อการทำงานเฉพาะตามที่ต้องการบางที่เรียกว่า ยูสเซอร์โปรแกรม
(User’s Program) เช่น โปรแกรมการทำบัญชีจ่ายเงินเดือน โปรแกรมระบบเช่าซื้อ โปรแกรมการทำสินค้าคงคลัง เป็นต้น แต่ละโปรแกรมจะมี
เงื่อนไข หรือแบบฟอร์มแตกต่างกันออกไปตามความต้องการ หรือกฎเกณฑ์ของแต่ละหน่วยงานที่ใช้ ซึ่งสามารถดัดแปลงแก้ไขเพิ่มเติม
(Modifications) ในบางส่วนของโปรแกรมได้เพื่อให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่เขียนขึ้นส่วนใหญ่ใช้ภาษาระดับสูงเป็นตัว
พัฒนา
4.6 ความหมายและหน้าที่ของระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการถูกสร้างขึ้นด้วยวัตถุประสงค์เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้งานให้สามารถโต้ตอบกับคอมพิวเตอร์ได้โดยไม่จำเป็นต้องทราบ
หรือเข้าใจถึงกลไกการทำงานภายในของระบบคอมพิวเตอร์ ให้เป็นหน้าที่ของระบบปฏิบัติการ ซึ่งมีหน้าที่ควบคุมและประสานงานระหว่างอุปกรณ์
คอมพิวเตอร์ภายในทั้งหมด ตั้งแต่ซีพียู หน่วยความจำ อุปกรณ์เก็บข้อมูล ไปถึงอุปกรณ์ข้อมูลนำเข้าและส่งออกเพื่อแสดงผลลัพธ์หรือที่เรียกว่า
แพลตฟอร์ม (Platform)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ซอฟต์แวร์และระบบปฏิบัติการ
4.6.1 ความหมายของระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ (Operating System) เรียกสั้น ๆ ว่า โอเอส (OS) คือ โปรแกรมที่สำคัญมาก ประกอบด้วยชุดโปรแกรม
ที่ทำหน้าที่ในการควบคุมดูแลการดำเนินการต่าง ๆ ภายในระบบคอมพิวเตอร์และเป็นตัวกลางในการประสานงานการทำงาน
ของฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ต่าง ๆ เพื่อตอบสนองต่อผู้ใช้งานให้มีประสิทธิภาพ
4.7 หลักการทำงานของระบบปฏิบัติการ
การเริ่มต้นการทำงานของระบบปฏิบัติการ เริ่มจากการบูตระบบ (Booting)
ถือเป็นการเริ่มต้นการทำงานของระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ซอฟต์แวร์และระบบปฏิบัติการ
เป็นการทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่กำลังใช้งานอยู่ให้เริ่มต้นทำงาน
ใหม่อีกครั้ง โดยไม่มีการกดปุ่มสวิตช์ปิด–เปิด ซึ่งทำได้หลายวิธี เช่น การรี
สตาร์ตเครื่องคอมพิวเตอร์ได้โดยการกดปุ่ม Ctrl, Alt และ Del บน
คีย์บอร์ดพร้อมกัน
วอร์มบูต (Warm Boot)
โคลด์บูต (Cold Boot)
เป็นการเริ่มต้นทำงานโดยอัตโนมัติของเครื่อง
คอมพิวเตอร์หลังการกดปุ่มสวิตช์เปิด
4.8 ประเภทของระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์รวมทั้งสมาร์ตโฟนและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์พกพาชนิดต่าง ๆ มีรูปแบบที่แตก
ต่างกันออกไป จึงใช้ระบบปฏิบัติการที่แตกต่างกัน เพื่อให้เหมาะสมกับอุปกรณ์นั้น ๆ สามารถแบ่งประเภทของระบบ
ปฏิบัติการตามลักษณะการทำงาน เช่น ระบบปฏิบัติการแบบเดี่ยว ระบบปฏิบัติการแบบเครือข่าย ระบบปฏิบัติการสำหรับ
อุปกรณ์แบบพกพา และระบบปฏิบัติการแบบฝัง
4.4 ตัวแปลภาษา
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาใดก็ตาม โปรแกรมนั้นจะต้องมีตัวแปลภาษาเพื่อแปลโปรแกรมที่เขียนขึ้นมาให้เป็นภาษา
เครื่องจึงจะใช้งานได้เพราะคอมพิวเตอร์รับรู้เฉพาะภาษาเครื่องได้เพียงภาษาเดียวเท่านั้น
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ซอฟต์แวร์และระบบปฏิบัติการ
เป็นการทำงานของโปรแกรมแปลภาษาแบบคอมไพเลอร์เป็นการ แปลคำสั่งทั้งหมดในโปรแกรมที่เขียนเป็นภาษาระดับสูง จะ
แปลโปรแกรมทั้งโปรแกรมให้เป็นภาษาเครื่อง หากมีข้อผิดพลาด ต้องแก้ไขโปรแกรมให้ถูกต้องก่อนและคอมไพล์ใหม่
จะทำการแปลชุดคำสั่งทีละบรรทัด หากพบข้อผิดพลาดใน โปรแกรมก็จะแสดงข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นบน
หน้าจอ เช่น รูปแบบภาษา (Syntax) ผิดพลาด หรือเกิดจาก การคำนวณ เช่น ใช้สูตรคำนวณผิด เป็นต้น