Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และการละครไทย รัตนโกสินทร์ ร.1-ร.5, รัดยอดเกล้า,…
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และการละครไทย รัตนโกสินทร์ ร.1-ร.5
รัชกาลที่ 5
5.บุคคลสำคัญที่เกี่ยวข้อง
เจ้าจอมละม้าย ในรัชกาลที่ 5 เป็นผู้สอน ท่ารำ “ฝรั่งคู่” ทั้งพระและนาง เจ้าจอมละม้าย ถือเป็นครูสอนนาฏศิลป์ที่มีฝีมือท่านหนึ่ง ท่านได้รับการถ่ายทอดจากละครหลวงสายรัชกาลที่ ๒ เรื่องอิเหนา และเป็นละครหลวงในสมัยรัชกาลที่ ๔ ในช่วงพ.ศ. ๒๔๒๕ เจ้าจอมละม้ายได้เป็นครูละครซ้อมเรื่องอิเหนาให้กับเจ้านายต่าง ๆ ไว้สำหรับการแสดงสมโภชเฉลิมพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท การระบำกิ่งไม้เงินไม้ทองหน้าม่านเป็นการแสดงรูปแบบใหม่ที่ถือกำเนิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๔ ซึ่งเจ้าจอมละม้ายท่านได้มีท่วงท่าการรำกิ่งไม้เงินกิ่งไม้ทองได้งามเลิศ และยังจัดท่ารำฝรั่งคู่ได้อย่างงดงาม จนการรำเป็นท่าแบบฉบับของเจ้าจอมละม้ายไปในที่สุด
3.วัตถุประสงค์
นาฏศิลป์เเละ การละครในสมัยรัชกาลที่๕ มักได้รับอิทธิพลมาจากการเเสดงในทวีปฝั่งตะวันตก เช่น ละครร้อง หรือ ละครพูด ทำให้วัตถุประสงค์ของการเเสดงส่วนใหญ่คือการให้ความบันเทิง
4.เครื่องเเต่งกาย
เนื่องจากนาฏศิลป์เเละการละครในยุคสมัยนี้ เป็นการเเสดงที่ได้รับอิทธิพลจากชาติตะวันตกจึงทำให้บทละครมีผลต่อการเเต่งกายด้วยเช่นกัน
ยกตัวอย่างเช่น ละครร้อง ละครพูด เเละ ละครดึกดำบรรพ์ ทีมีการดัดเเปลงให้เข้ากับบทละครเเละความเป็นจริง
1.เหตุการสำคัญ
มีการเลิกทาสเเละมีการการเสด็จพระราชดำเนินไปยังทวีปยุโรป โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสานสัมพันธไมตรีแก่ประเทศต่าง ๆในทวีปยุโรปเพื่อให้มองเห็นว่าประเทศสยามเป็นประเทศที่มีการพัฒนา ทำให้เกิดการหลั่งไหลเข้ามาของละครทางฝั่งตะวันตกสู่วงการนาฎศิลป์
2.อิทธิพลของราชวงศ์ต่อการเเสดง
ทรงส่งเสริมการละครโดยเลิกกฎหมายการเก็บอากรมหรสพเมื่อ พ.ศ. 2450 ทำให้กิจการละครเฟื่องฟูขึ้นกลายเป็นอาชีพได้ เจ้าของโรงละครทางฝ่ายเอกชนมีหลายราย นับตั้งแต่เจ้านายมาถึงคนธรรมดา
รัชกาลที่ 1
2.อิทธิพลของราชวงศ์ที่มีต่อการแสดง
รัชกาลที่ 1 โปรดเกล้าฯให้รวบรวมตำราฟ้อนรำ พัฒนาโขนในรูปเเบบนครในเเละได้ไปเผยเเพร่การเเสดงที่ประเทศกัมพูชา
พระราชประวัติพอสังเขป
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2279 พระองค์เป็นบุตรคนที่4 ของพระอักษรสุนทรศาสตร์ เมื่อเจริญวัยได้ถวายตัวเป็นมหาดเล็กในสมเด็จเจ้าฟ้ากรมขุนพรพินิต ครั้นพระชนมายุครบ 21 พรรษา ก็เสด็จออกผนวชเป็นภิกษุอยู่วัดมหาทลาย 1 พรรษา แล้วลาผนวชเข้ารับราชการเป็นมหาดเล็กหลวงในสมเด็จพระเจ้าอุทุมพรดังเดิม เมื่อพระชนมายุได้ 25 พรรษา พระองค์เสด็จออกไปรับราชการที่เมืองราชบุรีในตำแหน่ง "หลวงยกกระบัตร" ในแผ่นดินสมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์ พระราชกรณียกิจประการแรกที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชทรงจัดทำเมื่อเสด็จขึ้นครองราชย์ คือการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้ตั้งกรุงรัตนโกสินทร์เป็นราชธานีใหม่
1.เหตุการสำคัญ
โปรดรวบรวมตำราฟ้อนรำ และเขียนภาพท่ารำแม่บทบันทึกไว้เป็นหลักฐาน มีการพัฒนาโขนเป็นรูปแบบละครใน มีการปรับปรุงระบำสี่บท ซึ่งเป็นระบำมาตฐานตั้งแต่สุโขทัย ในสมัยนี้ได้เกิดนาฏศิลป์ขึ้นมาหลายชุด เช่น ระบำเมขลา-รามสูร ในราชนิพนธ์รามเกียรติ์
3.วัตถุประสงค์
ฟื้นฟูรวบรวมตำรานาฏศิลป์ไทยที่กระจัดกระจายให้สมบูรณ์
4.บุคคลสำคัญที่เกี่ยวข้อง
รัชกาลที่1
5.เครืองเเต่งกาย :
การเเสดงโขนสมัยรัชกาลที่ 1 จะเเต่งกายใกล้เคียงาจากเครื่องต้น หรือ
เครื่องทรงของพระมหากษัตริยอ มีชื่อเรียกชิ้นส่วนของเครื่องแต่งกายที่ตรงกัน มีรูปร่าง
ลักษณะที่ใกล้เคียงกัน
รัชกาลที่ 2
อิทธิพลของราชวงศ์ต่อการแสดง
เหตุการสำคัญ
เป็นยุคของนาฏศิลป์ไทย เนื่องจากพระมหากษัตริย์ทรงโปรดละครรำ
ท่ารำ งดงามตามปราณีตแบบราชสำนัก มีการฝึกหัดทั้งโขน ละครในละครนอก โดยได้ฝึกผู้หญิงให้แสดงละครนอกของหลวง
เครื่องแต่งกาย
มีการปรับปรุงเครื่องแต่งกาย ยืนเครื่องแบบละครใน มีความงดงามและมีกรรมวิธีการประดิษฐ์ที่วิจิตรบรรจงเป็นอย่างยิ่ง
วัตถุประสงค์การแสดง
เพื่อความบันเทิง
5.บุคคลสำคัญที่เกี่ยวข้อง
-
พระสุนทรโวหาร นามเดิม ภู่ หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า สุนทรภู่ กวีไทยที่มีชื่อเสียงใน รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย มีผลงานที่มีชื่อเสียงหลายเรื่องได้แก่ พระอภัยมณี นิราศพระบาท นิราศภูเขาทอง ได้รับยกย่องจากองค์การยูเนสโกเป็นบุคคลสำคัญของโลกด้านงานวรรณกรรม
ประวัติสุนทรภู่
สุนทรภู่ เกิดในรัชกาลที่ 1 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2329 ณ บริเวณด้านเหนือของพระราชวังหลัง (ซึ่งเป็นบริเวณสถานีรถไฟบางกอกน้อยปัจจุบันนี้) ถึงแก่กรรมเมื่อ พ.ศ. 2398 รวมอายุได้ 69 ปี
เมื่อครั้งสุนทรภู่อายุได้ประมาณ 2 ขวบ มารดาได้นำไปฝากให้เรียนหนังสือกับพระในสำนักวัดชีปะขาว ต่อมาได้เข้ารับราชการเป็นเสมียนนายระวางกรมพระคลังสวนในกรมพระคลังสวน แต่ไม่ชอบทำงานอื่นนอกจากแต่งบทกลอน ซึ่งสามารถแต่งได้ดี ตั้งแต่ยังรุ่นหนุ่ม เมื่อโตมาก็ได้สร้างผลงานมากมาย ทำให้เป็นที่โปรดปรานของรัชกาลที่ 2 อย่างมาก
รัชกาลที่ 3
2.อิทธิพลของราชวงศ์ที่มีต่อการแสดง
ก่อนที่ละครหลวงจะเลิกไป ประชาชนไม่ค่อยกล้าเเสดงละครกันเพราะเกรงว่าจะไปแข่งของหลวง แต่พอละครหลวงเลิกไปแล้วผู้มีบรรดาศักดิ์สูงก็พากันหัดเล่นละครตามแบบหลวงครั้งรัชกาลที่ 2 ขึ้นหลายแห่ง
1.เหตุการณ์สำคัญ
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวไม่ปรดการมหรสพต่างๆ ทรงเห็นว่าเป้นการบำรุงบำเรอที่ไร้สาระ ไม่เป็นประโยชน์ต่อบ้านเมืองและผิดหลักธรรมของพระพุทธศาสนา เป็นการบำรุงบำเรอตัวเองเกินกว่าเหตุ จึงโปรดเกล้าให้เลิกเล่นละครหลวง ไม่ทรงเล่นตลอดรัชกาล แต่ก็กลับเป็นเหตุให้เล่นละครกันแพร่หลายขึ้นกว่าแต่ก่อน
3.วัตถุประสงค์
เพื่อความบันเทิงเพราะผู้คนนิยมแบบอย่างละครหลวงครั้งรัชกาลที่ 2 เป็นอย่างมาก
5.บุคคลสำคัญที่เกี่ยวข้อง
พระราชประวัติ
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ไทยองค์ที่ 3 แห่งราชวงศ์จักรี เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย และสมเด็จพระศรีสุราลัย ( เจ้าจอมมารดาเรียม )มีพระนามเดิมว่า "พระองค์ชายทับ"
สุนทรภู่
4.เครื่องแต่งกาย
ตามแบบเครื่องแต่งกายในสมัยรัชกาลที่ 3
รัชกาลที่ 4
2.อิทธิพลของราชวงศ์ที่มีต่อการแสดง
โปรดให้มีละครรำหญิงในราชสำนักตามเดิมเเละในเอกชน
มีบรมครูทางนาฏศิลป์ได้ชำระพิธีโขนละคร ทูลเกล้าถวายตราฉบับหลวงเเละมีการดัดเเปลงการรำเบิกโรงประเริงมาเป็น รำดอกไม้เงินทอง
3.วัตถุประสงค์
เริ่มมีการติดต่อกัลชาวต่างชาติโดยเฉพาะชาวยุโรป จึงได้มีการฟื้นฟูการเเสดงขึ้นมา
4.บุคคลสำคัญที่เกี่ยวข้อง
พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าหญิงเฉลิมเขตรมงคล
พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าหญิงเฉลิมเขตรมงคล ทรงสนพระทัยในงานด้านศิลปะ การแสดง และทรงริเริ่มในการฝึกละครข้าหลวง ตั้งเป็นคณะนาฏดุริยศิลปิน โดยทรงเสียสละทุนทรัพย์ส่วนพระองค์
1.เหตุการสำคัญ
ร.4ได้ฟื้นฟูละครหลังขึ้นมาใหม่ อนุญาติให้ราษฎรฝึกละครในได้ซึ่งเดิมละครในจะเเสดงได้เเต่เฉพาะในราชวงศ์เท่านั้น ด้วยเหตุที่ละครเเพร่หลายไปสู่ประขาชนมากขึ้น จึงมีการบัญญัติข้อห้ามในการเเสดงละครเช่น
1.ห้ามฉุดบุตรชาย - หญิงอื่นมาฝึกละคร
2.ห้ามรัดเกล้ายอดเป็นเครื่อวประดับศรีษะ
5.เครื่องแต่งกาย
ห้ามรัดเกล้ายอดเป็นเครื่องประดับศีรษะ
รัดยอดเกล้า
เเหล่งที่มา
https://game8062540.wordpress.com
https://www.baanjomyut.com/library/ancient_drama/04.html
นาย ญาณวัฒน์ ชีพประสพ ม.4/15 เลขที่3
น.ส.ปุนญ์ณรัชม์ นาทอง เลขที่20 ม.4/15
https://l.messenger.com/l.php?u=https%3A%2F%2Fvajirayana.org%2F%25E0%25B8%2595%25E0%25B8%25B3%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%25A5%25E0%25B8%25B0%25E0%25B8%2584%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%25B4%25E0%25B9%2580%25E0%25B8%25AB%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%25B2%2F%25E0%25B8%25A0%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2584%25E0%25B8%2597%25E0%25B8%25B5%25E0%25B9%2588-%25E0%25B9%2593-%25E0%25B8%25A7%25E0%25B9%2588%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2594%25E0%25B9%2589%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%25A2%25E0%25B8%2595%25E0%25B8%25B3%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%25A5%25E0%25B8%25B0%25E0%25B8%2584%25E0%25B8%25A3%2F%25E0%25B8%2595%25E0%25B8%25B3%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%25A5%25E0%25B8%25B0%25E0%25B8%2584%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%2584%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B1%25E0%25B9%2589%25E0%25B8%2587%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%258A%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A5%25E0%25B8%2597%25E0%25B8%25B5%25E0%25B9%2588-%25E0%25B9%2593&h=AT2_B0E7rJyuxEhFN7hElInvtbV8ciJdnx3A2O4r0oKH5fvJJb4w37WxMMhJ3YBHHIiKwKMacPunwK03rXQHPHrhcZuJc5iBgwNsaNjWH6E-tNBYnLKhZdGQ79tDN3t_yqP3_d0OUxfXoyyHBZ7uWw
นายปริพัฒน์ บุญช่วย ม4/15 เลขที่ 6
น.ส.ปิยะธิดา อุทัยรังษี เลขที่33 ม.4/15
https://l.messenger.com/l.php?u=https%3A%2F%2Fnachuakpit.ac.th%2Fclient-upload%2Fnp%2Fuploads%2Ffiles%2F%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%2592%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%258F%25E0%25B8%25A8%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%25A5%25E0%25B8%259B%25E0%25B9%258C%25E0%25B9%2584%25E0%25B8%2597%25E0%25B8%25A2%25202_4.pdf&h=AT2_B0E7rJyuxEhFN7hElInvtbV8ciJdnx3A2O4r0oKH5fvJJb4w37WxMMhJ3YBHHIiKwKMacPunwK03rXQHPHrhcZuJc5iBgwNsaNjWH6E-tNBYnLKhZdGQ79tDN3t_yqP3_d0OUxfXoyyHBZ7uWw
เเหล่งที่มา
https://nachuakpit.ac.th/client-upload/np/uploads/files/%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%92%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%8F%E0%B8%A8%E0%B8%B4%E0%B8%A5%E0%B8%9B%E0%B9%8C%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2%202_4.pdf
แหล่งที่มา
แหล่งที่มา
แหล่งที่มา
https://l.messenger.com/l.php?u=https%3A%2F%2Fnachuakpit.ac.th%2Fclient-upload%2Fnp%2Fuploads%2Ffiles%2F%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%2592%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%258F%25E0%25B8%25A8%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%25A5%25E0%25B8%259B%25E0%25B9%258C%25E0%25B9%2584%25E0%25B8%2597%25E0%25B8%25A2%25202_4.pdf&h=AT2_B0E7rJyuxEhFN7hElInvtbV8ciJdnx3A2O4r0oKH5fvJJb4w37WxMMhJ3YBHHIiKwKMacPunwK03rXQHPHrhcZuJc5iBgwNsaNjWH6E-tNBYnLKhZdGQ79tDN3t_yqP3_d0OUxfXoyyHBZ7uWw
น.ส.ชมพูพันธ์ทิพย์ ขวัญนิมิตร
เลขที่29 ม.4/15
รัชกาลที่2ทรงส่งเสริมการละคร เนื่องจากทรงโปรดละครประเภทรำ
รัชการลที่ 3