Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วางแผนเพื่อให้ได้ข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ, ประโยชน์ของการวางแผน,…
วางแผนเพื่อให้ได้ข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ
ความหมาย ความสำคัญของการวางแผน
ความเป็นศาสตร์
ผู้วางแผนต้องมีความรู้
รวมถึงต้องมีการกำหนดเป้าหมายให้ชัดเจนด้วย
ความเป็นศิลป์
ผู้ใช้ต้องคำนึงถึงปัจจัยแวดล้อมต่างๆ
เช่น วัฒนธรรม ความเชื่อ ค่านิยม
องค์ประกอบของการวางแผน
จุดมุ่งหมาย
วิธีการ
ทรัพยากร
การนำแผนไปใช้
การควบคุม
หลักการพื้นฐานและข้อจำกัดในการวางแผน
ลักษณะของแผนที่ดี
มีความเชื่อมโยง เป็นเหตุเป็นผลกัน
มี่ความยืดหยุ่น สามารถปรับปรุงพัฒนาได้
เป็นการยอมรับ จากบุคคลที่เกี่้ยวข้อง
แสดงรายละเอียดขั้นตอนต่างๆ
ข้อจำกัดในการวางแผน
อาจเกิดการขัดแย้งทางความคิดเห็น
เป็นการบวนการที่ซับซ้อน
ความหมายความสำคัญของการรวบรวมข้อมูล
ออกแบบ วางแผน
กำหนดขอบเขตและขั้นตอน ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล
ขั้นตอนการรวบรวมข้อมูล
ศึกษารูปแบบ
เช่น อย่างไร ใคร ทำไม เท่าไหร่ ที่ไหน
เลือกวิธีการ
รวบรวมข้อมูลให้เหมาะสม
ใช้กระบวนการทางประวัติศาสตร์
เลือกชนิด
ควรเน้นข้อมูลปฐมภูมิ
เชิงปริมาณหรือเชิงคุณภาพ
กำหนดขอบเขต
กำหนดขอบเขตของประเด็นปัญหา ที่ต้องการหาคำตอบ
เลือกเครื่องมือ
เลือกเครื่องมือหรือวิธีการ ที่จะใช้ในการเก็บข้อมูล
เช่น การสังเกตุ สอบถาม
กำหนดรายละเอียด
กำหนดรายละเอียดในการเก็บข้อมูล
เช่น จัดเก็บข้อมูลจากใคร
วิธีการรวบรวมข้อมูล
คือ รวบรวมข้อมูลทีเป็นกระบวนการสำคัญในการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
การสังเกต
ลักษณะของการสังเกตุ
สังเกตุโดยไม่มีส่วนร่วม คือ การที่ผู้สังเกตุไม่ได้เข้าไปร่วมทำกิจกรรม
สังเกตุโดยมีส่วนร่วม คือ การที่มีผู้สังเกตุเข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรม
ขั้นตอนการสังเกตุ
ก่อนการสังเกตุ เช่น ศึกษาประเด็นปัญหา
ขณะสังเกตุ เช่น บันทึกสิ่งที่ปรากฎต่อสายตา
จบการสังเกตุ เช่น กล่าวขอบคุณกลุ่มผู้สังเกตุ
การสอบถาม
แบบสอบถามที่่มีคำถามแบบปลายปิด
แบบให้เลือกเพียงหนึ่งคำตอบ
แบบให้เลือกได้หลายคำตอบ
แบบเรียงลำดับ
แบบให้ประมาณค่า
แบบสอบถามที่่มีคำถามแบบปลายเปิด
แบบให้เขียนคำตอบสั้นๆ
แบบให้เขียนตอบยาว
การสัมภาษณ์
ประเภทของการสัมภาษณ์
การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง
การสัมภาษณ์แบบกึ่งมีโครงสร้าง
การสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง
ขั้นตอนการสัมภาษณ์
ก่อนการสัมภาษณ์ เช่น ทบทวนประเด็นปัญหา
ขณะสัมภาษณ์ เช่น แนะนำตัวและบอกวัตถุประสงค์ของการสัมภาษณ์
จบการสัมภษณ์ เช่น ตรวจสอบความสมบูรณ์ของข้อมูล กล่าวขอบคุณผุ็ให้สัมภษณ์
ความหมายของข้อมูลและแหล่งข้อมูล
ข้อมูล คือ ข้อเท็จจริงของสิ่งที่เราสนใจ เช่น ภาพ เสียง คน สัตว์ สิ่งของ
แหล่งข้อมูลภายใน
แหล่งข้อมูลภายนอก
ประเภทของข้อมูลและแหล่งข้อมูล
จำแนกตามแหล่งข้อมูล
ข้อมูลปฐมภูมิ ได้มาจากการสังเกตุ
ข้อมูลทุติยภูมิ ได้มาจากแหล่งข้อมูลที่มีผู้เก็บรวบรวมไว้แล้ว
จำแนกตามการจัดการข้อมูล
ข้อมูลดิบ ได้จากการเก็บ โดยที่ยังไม่ได้รวบรวมเป็นหมวดหมู่
ข้อมูที่จัดเป็นกลุ่ม เกิดจากการวิเคราะห์ข้อมูลดิบ
จำแนกตามลักษณะของข้อมูล
ข้อมูลเชิงปริมาณ เช่น การแสดงข้อมูลเป็นตัวเลข
ข้อมูลเชิงคุณภาพ เช่น ข้อมูลที่แสดงลักษณะแตกต่างกัน
จำแนกตามการจัดเก็บข้อมูล
ข้อมูลที่ได้จาการนับ เชน การนับจำนวนนักเรียนที่สอบผ่าน
ข้อมูลที่ได้จากการวัด เช่น การวัดน้ำหนักส่วนสูงของนักเรียน
ข้อมูลที่ได้จากการสังเกตุหรือสัมภาษณ์ เช่น ข้อมูลที่ได้จากการสังเกตุพฤติกรรม
จำแนกตามเวลาของการเก็บข้อมูล
ข้อมูลอนุกรมเวลา เช่น จำนวนประชากรของประเทศไทยในแต่ละปี
ข้อมูลภาคตัดขวาง เช่น ข้อมูลของครัวเรือน
จำแนกตามชนิดของข้อมูล
ข้อมูลชนิดอักขระ เป็นข้อมูลที่ประกอบไปด้วยอักษร ตัวเลข เครื่องหมาย
ข้อมูลชนิดที่เป็นภาพ เช่น ข้อมูลที่สามารถรับรู้ความหมายของที่สิ่งที่วาดขึ้นได้
ข้อมูลชนิดที่เป็นเสียงหรือสัมภาษณ์ เช่น รับรู้ความหมายได้โดยใช้ประสาท
ข้อมูลและแหล่งข้อมูลที่ดี
ลักษณะข้อมูลที่ดี
ถูกต้อง น่าเชื่อถือ
ตรงตามความต้องการ
ทันสมัย
สมบูรณ์ครบถ้วน
กะทัดรัด ไม่เยื่นเย้อ
ต่อเนื่อง
ลักษณะของแหล่งข้อมูลที่ดี
แหล่งข้อมูลที่เป็นแผ่นพับ ใบปลิว
แหล่งข้อมูลที่เป็นหนังสือ ตำรา
แหล่งข้อมูลที่ได้จาการสัมภาษณ์
แหล่งข้อมูลที่ได้จากการสังเกตุ
ตรวจสอบคุณภาพของข้อมูลและแหล่งข้อมูล
แนวทางการตรวจสอบคุณภาพของข้อมูล
การตรวจสอบคุณภาพข้อมูล
ตรวจสอบความครบถ้วน
ตรวจสอบความถูกต้อง
ตรวจสอบข้อมูลสถิติ
ตรวจสอบการอ้างอิง
ทบทวนเนื้อหา
แนวทางการตรวจสอบคุณภาพของแหล่งข้อมูล
การตรวจสอบคุณภาพแหล่งข้อมูล
ต้องสอดคล้อง
ต้องทันสมัย
ต้องน่าเชื่อถือ
ต้องมีระบบ
ต้องติดต่อง่าย
ประโยชน์ของการวางแผน
ช่วยค้นหา
ช่วยกระตุ้น
ช่วยแสดงทิศทาง
ช่วยปรับตัว
ช่วยสร้างความมั่นใจ
ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จของแผน
การจัดร่างแผน
การชี้แจงแผน
การปรับแผน
การนำแผนไปใช้
การควบคุมแผน