Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยการเรียนรู้ที่2 วางเเผนเพื่อให้ได้ข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ, ขณะสังเกตุ…
หน่วยการเรียนรู้ที่2
วางเเผนเพื่อให้ได้ข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ
วางเเผนอย่างไรให้สัมฤทธิผล?
1.3องค์ประกอบของการวางเเผน
มีอยู่5 องคืประกอบ
การจัดร่างทำแผน การชี้แจงแผน การปรับแผน การนำไปใช้ และการควบคุมแผน
1.1ความหมาย ความสำคัญของวางเเผน
2.ความเป็นศิลป์
ทั้งนี้เป็นเพราะวิชาการแต่ละสาขามีคุณลักษณ์แห่งความเป็นศาสตร์ครบถ้วน ... องค์ประกอบศิลป์ หมายถึง สิ่งที่ศิลปินและนักออกแบบใช้เป็นสื่อ.
1.ความเป็นศาสตร์
ข้อเท็จจริงหรือกฎที่จัดไว้อย่างเป็นระบบ. ศาสตร์ หมายถึง สาขาวิชาหรือสาขาความรู้ต่างๆ เช่น เคมี ชีววิทยา. ฟิสิกส์ และดาราศาสตร์ แต่วิทยาศาสตร์ ...
1.2ประโยชน์ของการวางเเผน
2.ช่วยกระตุ้น
3.ช่วยเเสดงทิศทาง
4.ช่วยปรับตัว
1.ช่วยค้นหา
5.ช่วยสร้างความมั่นใจ
1.4ปัจจัยที่สงผลต่อความสำเร็จของเเผน
1.การจัดร่างเเผน
การจัดร่างเเผน เป็นการร่างรายละเอียดที่สามารถดำเนินงานได้
3.การปรับเเผน
เมื่อทำการชี้เเจงให้ผู้เกี่ยวข้องทาราบรายละเอียดของเเผนเเล้วถา้เกิดก่ีวิพากษ์วิจารณ์เเละผู้เกี่ยวข้องได้ชี้ให้เห็นข้อบกพร่องเเผนนั้นจะต้องได้รับการปรับปรุง
2.การชี้เเจงเเผน
เมื่อร่างเเผนเเล้วเเผนนั้นจะต้องได้รับการชี้เเจงเพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องไดเีับทราบเเละเข้าใจรายละเอียด
5.การควบคุมเเผน
เมื่อนำเเผนไปใช้เเล้วควรประเมินผลว่า ดำเนินตามเเผนที่วางไว้หรือไม่ถ้ามีปัญหาอุปสรรคใดปัญหานั้นควรได้รับการเเก้ไข
4.การนำเเผนไปใช้
เมื่อมีเเผนปรับปรุงเเล้งเเผนก็จะถูกนำไปใช้ปฏิบัติเพื่อให้ได้ตามผลที่ประสงค์เเผนจะบรรลุความสำเร็จ
1.5หลักการพื้นฐานเเละข้อขีดจำกัดในการวางเเผน
ลักาณะของเเผนที่ดี
เเสดงรายละเอียดขั้นตอนต่างๆ
มีความเชื่อมโยงเป็นเหตุเป็นผลกัน
มีความยึดหยุ่นสามารถปรับปรุงพัฒนาได้
ได้รับการยอมรับ เห็นชอบจากบุคคลที่เกี่ยวข้อง
สนับสนุนความเป็ฯมาเเละวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้
ข้อจำกัดในการวางเเผน
เป็นกระบวนการในอนาคต ซึ่งอาจขาดข้แมูลสนับสนุนที่น่าเชื่อถือ
เป็นกระบวนการที่ซับซ้อน สิ้นเปลืองทั้งเวลาเเละค่าใช้จ่าย
อาจเกิดการขัดเเย้งทางความคิดเห็นของผู้ต่อต้านการเปลี่ยนเเปลง
ข้อมูลที่ดีมีอยู่ที่ใด?
2.1ความหมาย ความสำคัญของการรวบรวมข้อมูล
การเก็บข้อมูลขึ้นมาใหม่ และการรวบรวมข้อมูลของตัวแปรหรือเหตุการณ์ที่เราสนใจอย่างเป็นระบบ เพื่อที่จะนำไปวิเคราะห์หาคำตอบที่ถูกต้อง ในรูปแบบที่เหมาะสม
2.2ขั้นตอนการรวบวมข้อมูล
ขั้นตอน
กำหนดข้อมูลและตัวชี้วัด
กำหนดแหล่งข้อมูล
เลือกกลุ่มตัวอย่าง
เลือกวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
นำเครื่องมือรวบรวมข้อมูลไปทดลองใช้
ลงมือเก็บรวบรวมข้อมูล
2.3วิธีการรวบข้อมูล
1.1)ลักษณะการสังเกตุ
การสังเกตุสามารถจำเเนกได้2 ลักษณะ
สังเกตุโดยมีส่วนร่ววม
ทำให้ผู้วิจัยได้รับการยอมรับและสนิทสนมกับกลุ่มที่จะศึกษา โดยที่ผู้ถูกสังเกตไม่รู้ตัวว่าถูกสังเกตหรือเฝ้าดู จึงมีพฤติกรรมที่เป็นไปตามธรรมชาติ ทำให้ได้ข้อมูลที่เป็นจริง ทำให้เห็นภาพรวมของเหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็นธรรมชาติมากที่สุด
สังเกตุโดยไม่มีส่วนร่วม
คือการสังเกตที่ผู้วิจัยเฝ้าสังเกตอยู่วงนอก ไม่เข้าไปร่วมในกิจกรรมที่ทำอยู่ ข้อดีของวิธีการสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม มักใช้ในการเริ่มต้นเก็บข้อมูล ทำได้ง่าย ไม่ต้องเสียเวลาให้ได้รับการยอมรับจากกลุ่มศึกษา
1.2)ขั้นตอนการสังเกตุ
การสังเกตุสิ่งต่างๆ มีเเนวทางในการปฏิบัติโดยเเบ่งส่วนเเบ่งเป็นขั้นตอน ดังนี้
ก่อนการสังเกตุ
การสังเกตุ
การสอบถาม
2.1)เเบบสอบถามที่มีคำถามเเบบปลายปิด
. แบบสอบถามปลายปิด เป็นแบบสอบถามที่สอบถามเพื่อต้องการคำตอบเฉพาะเจาะจง โดยมีตัวเลือกให้ตอบ ซึ่งผู้วิจัยจะต้องการคาดเดาคำตอบที่จะต้องมีผู้ตอบให้ครอบคลุม โดยมากมักมีตัวเลือกตอบสุดท้ายไว้ให้ เช่น อื่น ๆ
การสัมภาษณ์
3.1)การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง
เป็นวิธีการสัมภาษณ์ที่มี การกำหนดข้อคำถามที่จะถามไว้แน่นอนแล้ว ผู้ถูกสัมภาษณ์แต่ละคนจะถูกถามด้วยคำถาม เหมือนกันหมดทุกคน
3.2)การสัมภาษณ์เเบบกึ่งมีโครงสร้าง
เป็นแบบสัมภาษณ์ที่ใช้กับการสัมภาษณ์ที่มีลักษณะการสัมภาษณ์ที่อยู่ระหว่างการสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างกับการสัมภาษณ์แบบไร้โครงสร้าง
3.3)การสัมภาษณ์เเบบไม่มีโครงสร้าง
เป็นวิธีก สัมภาษณ์ที่ไม่ได้กำหนดข้อคำถามไว้ก่อน คำถามที่ใช้จะไม่มีกฎเกณฑ์ที่แน่นอน มีความยืดหยุ่น แต่ ต้องอยู่ในกรอบวัตถุประสงค์ของความต้องการข้อมูล
ข้อมูลเเบบใดไขปัญหาได้
3.1ความหมายของข้อมูลเเละเเหล่งข้อมุล
1.แหล่งข้อมูลภายใน
เป็นแหล่งข้อมูลที่อยู่ภายในองค์กรทั่วไป ข้อมูลที่ได้มานั้นอาจมาจากพนักงานหรือมีอยู่แล้วในองค์กร
2.เเหล่งข้อมูลภายนอก
แหล่งของข้อมูลทั้งหมดที่อยู่ภายนอกองค์กร
3.2ิ ประเภทของข้อมูลเเละเเหล่งข้อมูล
1.จำเเนกตามเเหล่งข้อมูล
3.จำเเนกลักษณะของข้อมูล
2.จำเเนกตามการจัดการข้อมูล
4.จำเเนกการเก็บข้อมูล
6.จำเเนกตามชนิดของข้อมูล
5.จำเเนกตามเวลาของการเก็บข้อมูล
3.3ข้อมูลเเละเเหล่งข้อมูลที่ดี
2.ลักษณะของข้อมูลที่ดี
1.เเหล่งข้อมูลที่เป็นเเผ่นพับ ใบปริว
2.เเหล่งข้อมูลที่ฟนังสือ ตำรา
3.เเหล่งข้อมูลที่ได้จาการสัมภาษณ์
4.เเหล่งข้อมูลที่ได้จากการสังเกตุ
1.ลักษณะของข้อมูลดี
มีความถูกต้องและแม่นยา (Accuracy)
มีความเป็นปัจจุบันและทันสมัยอยู่เสมอ (Up to date)
มีความกระชับ ชัดเจน และสมบูรณ์ครบถ้วน (Conciseness and Completeness)
สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้(Relevance)
3.4 การตรวจสอบคุณภาพของข้อมูลเเละเเหล่งข้อมูล
1.เเนวทางการตรวจสอบตุณภาพข้อมูล
2.ตรวจสอบความถูกต้อง
3.ตรวจสอบข้อมูลสถิติ
1.ตวรจสอบความครบท้วน
4.ตรวจสอบอ้างอิง
5.ทบทวนเนื้อหา
ขณะสังเกตุ
จบการสังเกตุ