Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วางแผนเพื่อให้ได้ข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ - Coggle Diagram
วางแผนเพื่อให้ได้ข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ
ข้อมูลที่ดีมีอยู่ที่ใด การรวบรวมข้อมูลเป็นขัี้นตอนหนึ่งของกระบวนการแสวงหาคำตอบเพื่อที่จะทำให้ได้ข้อมูลที่ตอบสนองวัตถุประสงค์ สอดคล้องกับแนวคิด
กำหนดขอบเขตและขั้นตอนในการเก็บรวบรวมข้อมูล
ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล
ออกแบบวางแผน
ขั้นตอนการรวบรวมข้อมูล
3.เลือกชนิด
4.กำหนดขอบเขต
2.เลือกวิธีการ
5.เลือกเครื่องมือ
1.ศึกษารูปแบบ
6.กำหนดรายละเอียด
วิธีการรวบรวมข้อมูล
1)การสังเกต
สังเกตโดยมีส่วนร่วม
สังเกตุโดยไม่มีส่วนร่วม
2.การสอบถาม
แบบสอบถามที่มีคำถามแบบปลายปิด
แบบให้เลือกได้หลายคำตอบ
แบบเรียงลำดับ
แบบให้ประเมินค่า
แบบสอบถามที่มีคำถามปลายบเปิด
แบบให้เขียนตอบยาว
การสัมภาษณ์
2.การสัมภาษณ์แบบกึ่งมีโครงสร้าง
3.การสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง
1.การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง
ขั้นตอนการสัมภาษณ์
ขณะสัมภาษณ์
แนะนำตัวและบอกวัตถุประสงค์
กระตุ้นผู้สัมภาษณ์ให้บอกข้อมูลอย่างละเอียดที่สุด
แสดงกริยาหรือใช้ถ้อยคำให้สุภาพ
link to coggle.it
ก่อนการสัมภาษณ์
ทบทวนประเด็นปัญหา
คัดเลือกกลุ่มเป้าหมาย
จัดทำคำถามให้ตรงกับประเด็นปัญหา
จบการสัมภาษณ์
ตรวจสอบความสมบูรณ์ของข้อมูล
กล่าวขอบคุณผู้ให้สัมภาษณ์
วางแผนอย่างไรให้สัมฤทธิผล
ความหมาย ความสำคัญของการวางแผน การวางแผนหมายถึง กระบวนการที่องค์กรหรือหน่วยงานดำเนินการเพื่อให้ได้ผลที่ต้องการในอนาคต โดยการตัดสินใจล่วงหน้าในการเลือกวิธีทำงานที่ดีที่สุด
1.ความเป็นศาสตร์
2.ความเป็นศิลป์
องค์ประกอบของการวางแผน มีองค์ประกอบสำคัญ 5 ประการได้แก่
4.การนำแผนไปใช้
การควบคุม
3.ทรัพยากร
2.วิธีการ
1.จุดมุ่งหมาย
ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จของแผน
3.การปรับแผน
4.การนำแผนไปใช้
2.การชี้แจงแผน
การควบคุมแผน
1.การจัดร่างแผน
ประโยชน์ของการวางแผน การควางแผนเป็นขั้นตอนสำคัญในการเริ่มต้นกระทำสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เป็นเครื่องมือที่แสดงให้เห็น ทิศทาง ค่านิยม วัตถุประสงค์ ช่วยปรับปรุงและยกระดับคุณภาพ
1.ช่วยค้นหา
2.ช่วยกระตุ้น
3.ช่วยแสดงทิศทาง
4.ช่วยปรับตัว
5.ช่วยสร้างความมั่นใจ
หลักการพื้นฐานและข้อจำกัดในการวางแผน
ลักษณะของแผนงานที่ดี
มีความเชื่อมโยง เป็นเหตุเป็นผลกัน
มีความยืดหยุ่น สามารถปรับปรุงพัฒนา
แสดงรายละเอียดขั้นตอนต่างๆ
ได้รับการยอมรับ เห็นชอบจากบุคคลที่เกี่ยวข้อง
สนับสนุนความเป็นมาและวีตถุประสงค์ที่กำหนดไว้
ข้อจำกัดในการวางแผน
เป็นกระบวนการในอนาคต ซึ่งอาจขาดข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
เป็นกระบวนการที่ซับซ้อน สิ้นเปลืองทั้งเวลาและค่าใช้จ่าย
อาจเกิดการข้ดแย้งทางความคิดเห็นของผู้ต่อต้านการเปลี่ยนแปลง
ข้อมูลแบบใดไขปัญหาได้ ข้อมูลคือข้อเท็จจริงของสิ่งที่เราสนใจ ซึ่งอาจอยู่ในแบบต่างๆ เช่นภาพ เสียงไม่ว่าจะเป็น คน สัตว์ สิ่งของ หรือเหตุการ์ณที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่างๆ
แหล่งข้อมูลภายใน
แหล่งข้อมูลภายนอก
ประเภทของข้อมูลและแหล่งข้อมูล
1)จำแนกตามแหล่งข้อมูล
ข้อมูลปฐมภูมิ
ข้อมูลทุติยภูมิ
2)จำแนกตามการจัดการข้อมูล
ข้อมูลดิบ
ข้อมูลที่จัดเป็นกลุ่ม
3)จำแนกตามลักษณะของข้อมูล :
ข้อมูลเชิงปริมาณ
ข้อมูลเชิงคุณภาพ
4)จำแนกตามการเก็บข้อมูล
ข้อมูลมี่ได้จากการนับ
ข้อมูลที่ได้จากการวัด
ข้อมูลที่ได้จากการสังเกตหรือสัมภาษณ์
5)จำแนกตามกาลของเวลาของการเก็บข้อมูล
ข้อมูลอนุกรมเวลา
ข้อมูลภาคตัดขวาง
6)จำแนกตามชนิดของข้อมูล
ข้อมูลชนิดที่เป็นภาพ
ข้อมูลชนิดที่เป็นเสียงหรือสัมภาษณ์
ข้อมูลชนิดอักขระ
ข้อมูลและแหล่งข้อมูลที่ดี
1.ลักษณะข้อมูลที่ดี
ทันสมัย
สมบูรณ์ ครบถ้วน
ตรงตามความต้องการ
กะทัดรัด ไม่เยิ่นเย้อ
ถูกต้อง น่าเชื่อถือ
ต่อเนื่อง
2.ลักษณะของแหล่่งข้อมูลที่ดี
แหล่งข้อมูลที่เป็นหนังสือ ตำรา
แหล่งข้อมูลที่ได้จาการสัมภาษณ์
แหล่งข้อมูลที่เป็นแผ่นพับ ใบปลิว
แหล่งข้อมูลที่ได้จากการสังเกต
การตรวจสอบคุณภาพของข้อมูลและแหล่งข้อมูล
1)แนวมางการตรวจสอบคุณภาพของข้อมูล
ตรวจสอบความถูกต้อง
ตรวจสอบข้อมูลสถิติ
ตรวจสอบความครบถ้วน
ตรวจสอบการอ้งอิง
ทบทวนเนื้อหา
2)แนวทางการตรวจสอบคุณภาพของแหล่งข้อมูล
ต้องทันสมัย
ต้องน่าเชื่อถือ
ต้องสอดคล้อง
ต้องมีระบบ
ต้องติดต่อง่าย