Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วางแผนเพื่อไห้ได้ข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ - Coggle Diagram
วางแผนเพื่อไห้ได้ข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ
2.ข้อมูลที่ดีมีอยู่ที่ใด?
2.1ความหมาย ความสำคัญของการรวบรวมข้อมูล
การรวบรวมข้อมูลเป็นขั้นตอนหนึ่งของกระบวนการแสวงหาคำตอบเพื่อที่จะทำให้ข้อมูลที่ตอบสนองวัตถุประสงค์สอดคล้องกับแนวคิดสมมติฐานโดยเริ่มตั้งแต่การออกแบบวางแผนการกำหนดขอบเขตขั้นตอนและการเก็บรวบรวมข้อมูลตามลำดับ
ออกแบบวางแผน
กำหนดขอบเขตและขั้นตอนในการเก็บรวบรวมข้อมูล
ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล
2.2ขั้นตอนการรวบรวมข้อมูล
1.ศึกษารูปแบบ
วิเคราะห์รูปแบบของประเด็นปัญหาที่จะศึกษาค้นคว้าว่าเป็นคำถามแบบใด
2.เลือกวิธีการ
เลือกวิธีการที่จะเก็บรวบรวมข้อมูลให้เหมาะสมไม่ว่าจะเป็นการรวบรวมข้อมูลโดยการสำรวจทดลอง
3.เลือกชนิด
เลือกชนิดของข้อมูลที่จะเก็บรวบรวมเป็นข้อมูลเชิงประมาณหรือเชิงคุณภาพ
5.เลือกเครื่องมือ
เลือกเครื่องมือหรือวิธีการที่จะใช้ในการเก็บข้อมูลเช่นการสังเกตการสอบถามการสัมภาษณ์
4.กำหนดขอบเขต
กำหนดขอบเขตของประเด็นปัญหาที่ต้องการหาคำตอบ
6.กำหนดลายละเอียด
กำหนดรายละเอียดในการเก็บข้อมูลเช่นจะเก็บข้อมูลจากการสถานที่ใดเก็บในช่วงเวลาใดใช้เวลานานเท่าใด
2.3วิธีการรวบรวมข้อมูล
1.การสังเกต
เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลวิธีหนึ่งโดยใช้การเฝ้าดูอากัปกิริยาการกระทำพฤติกรรมหรือสิ่งที่เกิดขึ้น
ลักษณะของการสังเกต
สังเกตโดยมีส่วนร่วม
สังเกตโดยไม่มีส่วนร่วม
2.การสอบถาม
เป็นเครื่องมือชนิดหนึ่งในการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยจัดทำเป็นชุดของคำถามแบ่งเป็น2ประเภท
แบบสอบถามที่มีคำถามแบบปลายปิด
แบบสอบถามที่มีคำถามแบบปลายเปิด
3.การสัมภาษณ์
ประเภทของการสัมภาษณ์
การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง
การสัมภาษณ์แบบกึ่งมีโครงสร้าง
การสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง
1.วางแผนอย่างไรไห้สัมฤทธิผล
1.1ความหมาย ความสำคัญของการวางแผนกระบวนการที่องค์กรหรือหน่วยงานดำเนินการเพื่อไห้ได้ผลที่ต้องการโดยตัดสินใจล่วงหน้าในการเลือกวิธีการที่ดีที่สุดไห้บรรลุผลตามที่ต้องการภายในระยะเวลาที่กำหนด
1.ความเป็นศาสตร์
ผู้วางแผนต้องมีความรู้ความเข้าใจรูปแบบกระบวนการแนวทางการกำหนดกรอบแนวคิด
2.ความเป็นศิลป์
ผู้ใช้ต้องคำนึงถึงปัจจัยแวดล้อมต่างๆเช่น วัฒนธรมม ความเชื่อ ค่านิยมของผู้ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานตามแผน
1.2ประโยชน์ของการวางแผน เป็นเครื่องมือที่แสดงไห้เห็น ทิศทาง ค่านิยม วัตถุประสงค์ช่วยปรับปรุงและยกระดับคุณภาพกระบวนการตัดสินใจของตนเองไห้ดีขึ้น
1.ช่วยค้นหา
ค้นหาหรือชี้แนวไห้ทราบถึงลักษณะปัญหาโอกาศที่ปัญหาเหล่านั้นจะเกิดขึ้น
2.ช่วยกระตุ้น
การวางแผนจะกระตุันกระบวนการตัดสินใจของผู้วางแผนไห้ดียิ่งขึ้น
3.ช่วยแสดงทิศทาง
การวางแผนช่วยประความคิด ทัศนคติ ค่านิยม วัตถุประสงค์ของผู้วางแผน
5.ช่วยสร้างความมั่นใจ
การวางแผนจะช่วยสร้างความมั่นใจและความเชื่อมั่นทั้งต่อตัวผู้วางแผนและผู้มีส่วนร่วมในงานว่างานจะประสบความสำเร็จ
4.ช่วยปรับตัว
การวางแผนจะช่วยไห้ผู้วางแผนแต่ละคนสามารถที่จะปรับตัวไห้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสิ่งแวดล้อมรอบตัวได้
1.3องค์ประกอบของการวางแผนมีองค์ประกอบสำคัญ5ประการดังนี้
1.จุดมุ่งหมาย
แสดงถึงวัตถุประสงค์หรือความมุ่งหมายของแผนที่กำหนดขึ้นอาจชี้ไห้เห็นสภาพปัญหา ความเป็นมา หรือภูมิหลังที่ต้องทำแผน
2.วิธีการ
แสดงถึงการนำเสนอข้อมมูลมาวิเคราะห์แล้วกำหนดเป็นทางเลือกหลายทางเลือก
3.ทรัพยากร
หมายถึงปริมาณและคุณภาพของทรัพยากร เช่น คน เงิน วัสดุอุปกรณ์
4.การนำแผนไปใช้
เป็นองค์ประกอบที่จะระบุถึงวิธีการหรือการตัดสินใจเพื่อทางเลือกที่ดีที่สุดในการปฏิบัติ
5.การควบคุม
เป็นองค์การกอบที่แสดงถึงการตวรจสอบและการประเมินผลการดำเนินงานของแผนว่าจะเป็นไปได้ด้วยดีหรือมีประสิทธิภาพมากน้อยเพียงใด
1.4ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จของแผน
1.การจัดร่างแผน
เป็นการร่างรายระเอียดที่สามารถดำเนินงานได้โดนบ่งชี้อย่างชัดเจนว่าแผนงานนั้นเป็นเรื่องใด
2.การชี้แจงแผน
เมื่อร่างแผนแล้วแผนนั้นจะต้องได้รับการชี้แจงเพื่อไห้ผู้เกี่ยวข้องได้รับทราบและเข้าใจโดยละเอียด
4.การนำแผนไปใช้
เมื่อมีแผนปรับปรุง แล้ว แผนก็จะถูกนำไปใช้ ปฏิบัติ เพื่อให้ได้ผลตาม ที่ประสงค์
3.การปรับแผน
เมื่อทำการชี้แจงให้ ผู้เกี่ยวข้องได้รับทราบ รายละเอียดของแผนแล้ว ถ้าเกิดการวิพากษ์วิจารณ์ และผู้เกี่ยวข้องได้ชี้ให้เห็นข้อบกพร่องแผนนั้น จะต้องได้รับการปรับปรุง
5.การควบคุมแผน
เมื่อนำแผนไปใช้แล้ว ควรประเมินว่าดำเนิน ตามแผนที่วางไว้หรือไม่ถ้ามีปัญหาอุปสรรคใดปัญหานั้นควรได้รับการแก้ไขปรับปรุงหรือ พัฒนาอย่างไร
1.5หลักการพื้นฐานและข้อจำกัดในการวางแผน
ลักษณะของแผนที่ดี
• มีความเชื่อมโยง เป็นเหตุเป็นผลกัน มีความยืดหยุ่น สามารถปรับปรุงพัฒนาได้
• ได้รับการยอมรับ เห็นชอบจากบุคคลที่ เกี่ยวข้อง
ข้อจำกัดในการวางแผน
• เป็นกระบวนการในอนาคต ซึ่งอาจขาด ข้อมูลสนับสนุนที่น่าเชื่อถือ
•เป็นกระบวนการที่ซับซ้อน สิ้นเปลืองทั้ง เวลาและค่าใช้จ่าย
•อาจเกิดการขัดแย้งทางความคิดเห็นของ ผู้ต่อต้านการเปลี่ยนแปลง
3.ข้อมูลแบบใดไขปัญหาได้?
3.1ความหมายของแหล่งข้อมูล
ข้อมูลคือข้อเท็จจริงของสิ่งที่น่าสนใจซึ่งอาจอยู่ในรูปแบบต่างๆเช่นภาพเสียงไม่ว่าจะเป็นคนสัตว์สิ่งของหรือเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่างๆโดยปกติข้อมูลจะได้มาจากแหล่งที่มา2ประเภท คือ
1.แหล่งข้อมูลภายใน
2.แหล่งข้อมูลภายนอก
3.2ประเภทของข้อมูลและแหล่งข้อมูล
1.จำแนกตามแหล่งข้อมูลจำแนกได้2ประเภทดังนี้
ข้อมูลปฐมภูมิ
ข้อมูลทุติยภูมิ
2.จำแนกตามการจัดการข้อมูลจำแนกได้2ประเภท
ข้อมูลดิบ
ข้อมูลที่จัดเป็นกลุ่ม
3.จำแนกตามลักษณะของข้อมูลจำแนกได้2ประเภท
ข้อมูลเชิงประมาณ
ข้อมูลเชิงคุณภาพ
4.จำแนกตามการเก็บข้อมูลจำแนกได้3ประเภท
ข้อมูลที่ได้จากการนับ
ข้อมูลที่ได้จากการวัด
ข้อมูลที่ได้จากการสังเกตหรือสัมภาษณ์
5.จำแนกตามเวลาของการเก็บข้อมูลจำแนกได้2ประเภท
ข้อมูลอนุกรมเวลา
ข้อมูลภาคตัดขวาง
6.จำแนกตามชนิดของข้อมูลจำแนกได้3ประเภท
ข้อมูลชนิดอักขระ
ข้อมูลชนิดที่เป็นภาค
ข้อมูลชนิดที่เป็นเสียงหรือสัมภาษณ์
3.3ข้อมูลและแหล่งข้อมูลที่ดี
1.ลักษณะของข้อมูลที่ดีมีดังนี้
ถูกต้อง น่าเชื่อถือ
ตรงตามความต้องการ
ทันสมัย
สมบูรณ์ ครบถ้วน
กะทัดรัดไม่เยิ่นเย้อ
ต่อเนื่อง
2.ลักษณะของแหล่งข้อมูลที่ดี
แหล่งข้อมูลที่เป็นแผ่นพับ ใบปริว
แหล่งข้อมูลที่เป็นหนังสือ ตำรา
แหล่งข้อมูลที่ได้รับจากการสัมภาษณ์
แหล่งข้อมูลที่ได้จากการสังเกต
3.4การตรวจสอบคุณภาพของข้อมูลและแหล่งข้อมูล
1.แนวทางตรวจสอบคุณภาพของข้อมูลมีแนวทางการตรวจสอบดังนี้
ตรวจสอบความครบถ้วน
ตรวจสอบความถูกต้อง
ตรวจสอบข้อมูลสถิติ
ตรวจสอบการอ้างอิง
ทบทวนเนื้อหา
2.แนวทางการตรวจสอบคุณภาพของแหล่งข้อมูล
ต้องสอดคลอง
ต้องทันสมัย
ต้องหน้าเชื่อถือ
ต้องมีระบบ
ต้องติดต่อง่าย