Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิวัฒนาการนาฏศิลป์และการละครไทยสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ (ร 1-ร 5 ) - Coggle…
วิวัฒนาการนาฏศิลป์และการละครไทยสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ (ร 1-ร 5 )
วิวัฒนาการ หมายถึง การเปลี่ยนของสิ่งต่างๆในทางที่ดีขึ้นหรือการปรับตัวให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเพื่อแนวทางที่ดีกว่าเดิม
ประวัติความเป็นมา มีการจัดแสดงละครใน คือ การแสดงโขนที่มีการปรับปรุงระบำสี่บทที่มีรากฐานมากจากสมัย สุโขทัย และ ได้มีการนำบทรามเกียรติ์ มา เล่าผ่านการแสดงระบำ เมขลา-รามสูร
สมัยรัชกาลที่ 1
การแสดงที่เด่นในสมัยนั้น 1.การฟ้อนรำโดยมีการเขียนภาพการรำไว้เป็นหลักฐาน 2.การแสดงโขนในรูปแบบละครใน
บุคคลสำคัญ นายทองอยู่และนายทองรุ่ง : ผู้เชี่ยวชาญละครใน
สมัยรัชกาลที่ 2
การแสดงที่เด่นในสมัยนั้น เริ่มมีการแสดงละครนอก (การแสดงที่เข้าถึงผู้คนธรรมดา มีการสอดใส่เนื้อหาที่ เป็นวิถีชีวิตของชาวบ้านลงไป) การแสดงงิ้ว
บุคคลสำคัญ กรมพระราชวังบวรมหาเสนานุรักษ์: ผู้ริเริ่มงิ้ว พระเจ้าลูกยาเธอกรมหมื่นเจษฎาบดินทร์: ผู้แต่งบทละครนอก และ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
ประวัติความเป็นมา ในยุคสมัยนี้ถือเป็นยุค แห่งนาฏศิลป์ไทย เพราะเป็นสิ่งที่ พระมหากษัตริย์ทรงโปรดปราน มีการฝึกโขน ละครใน และริเริ่มการฝึกฝนให้ผู้หญิงแสดงละครนอก และ การปรับปรุงเครื่องแต่งกายให้สวยงามมากขึ้น และ ยังมีการเริ่มแสดงละครงิ้วเกิดขึ้นด้วย
บุคคลสำคัญ หม่อมแย้ม ผู้แสดงเป็นอิเหนา : กรมหลวงรักษ์รณเรศ ผู้จัดแสดงละครอิเหนา
พระองค์เจ้าทินกร ท่านแต่งบทละครหลายเรื่อง
รัชกาลที่ 3
การแสดงที่โดดเด่น มีการแสดงที่เป็น การแสดงของกลุ่มคนต่างๆ ทั้งชาวบ้าน และ สามัญชนคนธรรมดามากขึ้น เกิดศิลปินหลายคน การละร เช่น ละคร อิเหนา
ประวัติความเป็นมา รัชกาลที่ 3 ทรงโปรดให้ยกเลิกละครหลวง และ เผยแพร่ละครให้แกชาวบ้านและสามัญชนคนธรรมดาได้เห็น และเกิดการคิดที่อยากผลิตละครของประชาชนมากขึ้น ทำให้ผู้คนในสมัยนั้นเริ่มสนใจทางด้าน นาฏศิลป์มากขึ้น
แหล่งอ้างอิง www.nachuakpit.ac.th
สมาชิกในกลุ่ม
นาย บุญฤทธิ์ ย่องตีบ เลขที่ 26 ชั้น ม.4/16
นางสาว ปัณฑิตา ศรีเพชรใส เลขที่ 17 ชั้น ม.4/16
นางสาว ณัฐปณิส เกษมุล เลขที่ 25 ชั้น ม.4/16
นางสาว นิชธาวัลย์ ศรีทวีกูล เลขที่ 27 ชั้น ม.4/16
บุคคลสำคัญ คณะละครเจ้าจอม เจ้าจอมมารดาวาด แสดงละครในบทอิเหนา
นายคุ้ม แสดงเป็นพระราม นายบัวแสดงเป็นทศกัณฐ์
รัชกาลที่ 4
การแสดงที่โดดเด่น ละครรำ ของ ชาวบ้านและ ละครรำในวัง โขนละครเกี่ยวกับ รามเกียรติ์
ประวัติความเป็นมา รัชกาลที่4 ทรงโปรดให้มี ละครรำผู้หญิงในราชสำนัก และ นำละครโขนกลับเข้าเป็นฉบับหลวง และการดัดแปลงละครรำต่างๆ
รัชกาลที่ 5
การแสดงที่โดดเด่น ละครพันทาง ละครเสภา ระบำต่างๆ ระบำบุษบา
ประวัติคสามเป็นมา ได้มีการ อนุรักษ์และพัฒนา นาฏศิลป์ไทยและประยุกต์ให้ทันสมัยขึ้น มีการนำละครดึกดำบรรพ์ ให้ทันยุคสมัยมากขึ้น การแทรกการระบำไว้ในการแสดงละครต่างๆ
บุคคลสำคัญ พระราชชายา เจ้าดารารัศมีนาฏศิลป์ล้านนา ท่านอนุรักษ์การแสดงนาฏศิลป์
เจ้าพระยามหินทรศักดิ์ธารง : ผู้เริ่มละครพันทาง