Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกแรกเกิด, สพล พิมพ์ประสานต์ - Coggle Diagram
การพยาบาลทารกแรกเกิด
การพยาบาลทารกแรกเกิดประจำวัน
1.การตรวจดูลักษณะทั่วไปของทารก
ตั้งแต่ศรีษะจรดเท้า
2.การให้ความอบอุ่น
BT 36.5-37 ๐C
แรกเกิดจะวัดทาง Anus เพื่อวัดอุณหภูมิกายและตรวจดูว่ามี Imperforated Anus หรือไม่
3.ดูแลทารกได้รับน้ำนมแม่อย่างเพียงพอ
ดูดนมแม่ทุก 2-4ชม. หรือบ่อยกว่านั้นตามต้องการ
ปริมาณสารอาหารที่ทารก AGA ต้องการต่อวัน 120 Kcal/Kg/day
สังเกตไม่ให้เกิดการสำรอกนมในทารกแรกเกิด
4.การชั่งน้ำหนักทารกแรกเกิด
ชั่งน้ำหนักทารกตั้งแต่แรกเกิดและชั่งทุกวันขณะอยุ่ รพ.
โดยทั่วไปทารกภายหลังเกิด 2-3วันแรกน้ำหนักอาจลดลงได้แต่ไม่ควรเกินร้อยละ 10 ของน้ำหนักแรกคลอด
5.การอาบน้ำและการทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธ์ของทารก
6.การเช็ดสะดือ
สายสะดือจะเหี่ยวแห้งหลุดไปเอง 1-3 wks.หลังคลอด แผลบริเวณดคนสะดือจะแห้งและหายสนิทภายใน 2-3 wks.
การสังเกตสะดือผิดปกติ
มีน้ำเหลือง
เลือด
หนองซึม
กลิ่นเหม็น
มีติ่งหรือตุ่มแดง
เช็ดด้วยแอลกอฮอล์ 70% ทุกวันหลังอาบน้ำ ห้ามโรยแป้ง
7.การเช็ดตา
ใช้น้ำต้มสุกที่เย็นแล้ว เช้ดจากหัาตาไปหางตา
8.การขับถ่ายและการทำความสะอาดหลังการขับถ่าย
9.สังเกตอาการอื่นๆ เช่น การสะดุ้งหรือผวา
การให้วัคซีนสำหรับทารกแรกเกิด
BCG /ป้องกันวัณโรค
0.1ml ฉีดเข้าชั้นผิวหนังที่ไหล่ซ้าย
หลังฉีดอาจพบตุ่มหนอง ไม่ต้องใส่ยา
HBV/ป้องกันไวรัสตับอักเสบี
0.5ml เข้ากล้ามเนื้อที่ไหล่หรือต้นขาข้างซ้าย
ฉีด 3 ครั้ง แรกเกิด/2เดือนและ6เดือน (0/1/6)
หลังฉีดอาจมีไข้ได้ 24 ชม.
DTwP/ป้องกันคอตีบ ไอกรน บาดทะยัก
0.5ml ฉีดเข้่กล้ามเนื้อ 2เดือน/4เดือนและ6เดือน
ฉีดกระตุ้นเข็ม1เมื่ออายุครบ 18เดือน เข็มที่ อายุ4-6 ปี
หลังฉีดอาจมีไข้สูง บางรายอาจปวด บวมแดงร้อนบริเวณที่ฉีด
OPV/ป้องกันโปลิโอ ชนิดกิน
เป็นเชื้อที่ยังมีชีวิต
หยอด 5 ครั้งที่อายุ2เดือน/4เดือนและ6เดือน ร่วมกับฉีดIPV 1 ครั้งเมื่อาอยุ4เดือน
กระตุ้นเข็ม1 เมื่ออายุ18 เดือน เข็มที่2 เมื่ออายุ 4-6 ปี
สามารถใช้ชนิดฉีดแทนได้
MMR/ป้องกันโรคหัดคางทูมและเยอรมัน
เป็นวัคซีนมีชีวิต
0.5ml ที่ชั้นใต้ผิวหนัง
เข็มแรกเมืิ่ออายุ 9-12 เดือน เข็ม2 เมื่อ 4-6 ปี
หลังฉีดอาจมีไข้ ผื่นขึ้นตามตัว บวมบริวเณที่ฉีด
JE/ป้องกันโรคไข้สมองอักเสบ
0.5ml ฉีดใต้ผิวหนัง
เป็นเชื้อตาย
ฉีด3 เข็ม เริ่มเข้มแรกเมื่ออายุ 6 เดือน/4เดือนและ1ปี
หลังฉีดมีไข้ต่ำๆ ปวด บวม คัน
Influenza/ป้องกันไข้หวัดใหญ่
ฉีดเข้าก้ามเนื้อ
ฉีดในเด้กที่อายุตั้งแต่ 6 เดือนขึ้นไป
หลังฉีดอาจมีไข้
HPV/ป้องกันมะเร็งปากมดลูก
ฉีดในเด้กผู้หญิงอายุ 11 ปี 2เข็มห่างกัน 6-12เดือน
อาการที่ผิดปกติของทารก
1.ซึมไม่ดูดนม
2.ถ่ายเหลวเป็นน้ำติดต่อกัน เกิน3ครั้ง
3.ปากเป็นฝ้าขาว
4.อาเจียน
5.ตา-ตัวเหลืองเกิน7วัน
6.ชัก
7.ตาอักเสบ มีขี้ตาแฉะ
8.สะดือมีกลิ่นเหม็น มีเลือด มีหนอง
การประเมินและการดูแลทารกแรกเกิดที่มีความผิดปกติ
1.Club foot/เท้าปุก
ชนิดของเท้าปุก 2 ชนิด
1.Congenital clubfoot/เท้าปุกแท้
รูปร่างโค้งงอมากชัดเจน อาจมีร่องเนื้อด้านในเท้าไม่สามารถดัดได้
2.Postural clubfoot/เท้าปุกเทียม
หายเองได้ภายใน 2-3 วัน ดัดได้รอบทิสทาง
การตรวจแยกเท้าปุกแท้กับเท้าปุกเทียม
ดูรุปร่างเท้า
การดัดเบาๆ
การรักษา
ต้องพบแพทย์เฉพาะทางเพื่อทำการรักษาเท่านั้น
2.Tongue tie/ลิ้นติด
อาการแสดง
แลบลิ้นได้ไม่พ้นริมฝีปากหรือเหงือกบน
ปลายลิ้นอาจเป็นร่องหยักเข้ามาหรือเป็นรูปหัวใจ
การประเมินความรุนแรง
Hazel baker assessment tool
siriraj tongue-tie score(STT score)
3.Meconium impact/ภาวะขี้เทาอุดตันลำไส้
หากไม่มีการขับถ่ายภายใน 24 ชม.อาจเกิดภาวะลำไส้ตีบตันหรือลำไส้อุดตันจากขี้เทา
อาการ
ท้องอืด
ไม่ดูดนม
อาเจียน
4.Lactose intolerance/ภาวะแพ้น้ำตาล Lactose
ขาดเอนไซม์lactaseไม่สามารถย่อยน้ำตาลlactoseได้
อาการแสดง
ท้องอืด
ท้องเดินหลังได้รับนม
สาเหตุ
ภาวะพร่องเอนไซมืแลคเตส
การดูแลในทารกแรกเกิด
งดนมมารดาและนมวัว ควรให้ดื่มนมถั่วเหลืองแทนนมมารดา
5.Down Syndrome
อาการแสดง
ตาเฉียงขึ้น
ใบหูเล็กต่ำกว่าปกติ low set ears
ลายมือตัดกลาง
6.Neonatal teeth/ฟันงอก
การดูแล
ถ้าพบปัญหาการดูดนมมารดาฟันที่ขึ้นมา จะขบกัดหัวนมขณะให้นมอาจแก้ได้โดยใช้ผ้ากอซหุ้มรอบๆ หัวนม
7.Sub temperature:hypothermia/ภาวะอุณหภูมิกายต่ำในทารกแรกเกิด
วัดทางทวารหนักหรือทางรักแร้ ต่ำกว่า36.5องศา
การปรับอุณหภูมิกายของร่างกายทารก
Heat lossการถ่ายเทความร้อน
การกระตุ้นให้มีการขับเหงื่ออกมาสู่บริเวณผิวหนังเพื่อระเหยออกสู่สภาพแวดล้อม
การสูญเสียความร้อนในทารกแรกเกิด
1.พื้นที่ผิวกายกว้างมากเมื่อเทียบกับน้ำหนักตัว
2.มีไขมันสีน้ำตาลน้อย
3.การงอตัวของทารก
4.ศูนย์ควบคุมความร้อนยังเจริญไม่เต็มที่
5.ต่อมเหงื่อยังพัมนาไม่เต็มที่
กลไกการสูญเสียความร้อน
1.การนำความร้อน Conduction
เกิดขึ้นเมื่อผิวกายทารกสัมผัสดดยตรงกับวัตถุที่มีอุณหภูมิที่ต่ำกว่า
2.การพาความร้อน convection
เป็นการสูญเสียความร้อนจากผิวกายไปสู่อากาศรอบๆตัว
3.การระเหยของน้ำ Evaporation
ทารกจะสูญเสียความร้อนด้วยวิธีนี้เมื่อตัวเปียก แฉะ
4.การแผ่รังสี Radiation
การวางทารกไว้ใกล้กับวัตถุที่เย็นหรืออยู่ในอุณหภูมิห้องที่เย็น
อาการและอาการแสดง
Cyanosisผิวหนังเย็นกว่าปกติหรือเขียวคล้ำ
Gruntingหายใจลำบาก
Acidosisดูดนมช้า
การรักษาภาวะอุณหภูมิกายต่ำ
1.Slow re warming การเพิ่มอุณหภูมิกายอย่างช้าๆ
2.Rapid rewarming การเพิ่มอุณหภูมิกายอย่างรวดเร็ว
8.Sucking defect/ปัญหาการดูดกลืนผิดปกติ
ปัจจัยภายใน
ลิ้นติด ปากแหว่งเพดานโหว่ ช่องต่อระหว่างทางเดินอาหารกับระบบทางเดินหายใจมีปัญหา
มีปัญหาเรื่องโรครหัวใจหรือปอด
พัฒนาการที่ผิดปกติ
คลอดก่อนกำหนด
ปัจจัยภายนอก
การให้นมไม่ถูกวิธี
การดูดหัวนมยาง
ปริมาณน้ำนมมากเกินไป
การดูแล
ให้ได้รับนมเพียงพอตามปัญหาที่พบ ส่งต่อผู้เชี่ยวชาญในการฝึกการดูดกลืน
9.Undescended testes ลูกอัณฑะไม่ลงถุงอัณฑะ
การประเมิน
จากการดูอาจเห้นก้อนนูนบริเวณขาหนีบ
จากการคลำไม่พบในทารกแรกเกิด
การดูแลรักษา
1.รักษาด้วยฮอร์โมน
2.การผ่าตัด
10.ภาวะตัวเหลือง
อุบัติการณ์
พบได้ถึงร้อยละ25-50
สาเหตุที่ทำให้ตัวเหลือง
1.ภาวะเม็ดเลือดแดงแตกปกติในทารกแรกเกิด
2.มีการทำลายเม็ดเลือดแดงมากกว่าปกติ
3.การทำงานของตับยังไม่สมบูรณ์
4.ความผิดปกติที่ลำไส้
สรีรภาพ
ทารกมักจะตัวเหลืองภายหลังจาก24hr หลังคลอด
การดูแล
ให้ทารกดูดนมแม่เร็วที่สุดภายในชั่วโมงแรกหลังคลอดและดูดบ่อยๆ ทุก2-3ชม
ภาวะตัวเหลืองที่สัมพันธ์กับนมแม่
มักจะเหลืองตอนปลายสัปดาห์แรกหลังคลอด
เกิดใน2-3วันแรกหลังคลอด
การประเมินภาวะตัวเหลืองในทารก
1.ประวัติ
2.การตรวยร่างกาย
3.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การรักษาภาวะตัวเหลือง
1.ใช้แสงบำบัด
2.ถ่ายเปลี่ยนเลือด
3.ใช้ยาphenobarbital
Dacryocystitis/น้ำตาไหล
น้ำตาไหลในทารกตั้งแต่แรกเกิด เกิดจรกการอุดตันของท่อน้ำตาและมีขี้ตาแฉะร่วมด้วย
ส่วนใหญ่หายได้เองภายใน1-2เดือน
วิธีแก้ไข
ใช้นิ้วก้อยนวดหัวตาด้านจมูกโดยกดเบาๆ จากหัวตาลงสู่จมูก20-30/ครั้ง
การดูแล
การประเมินสภาพ
วิเคราะห์แยกแยะ
การดูแลรักษา
คำแนะนำ
การเปลี่ยนแปลงทางสรีระวิทยาของทารกแรกเกิด
Adaptation of respiratory system
ภาวะ asphyxia เป็นสิ่งกระตุ้น การหายใจของทารกรุนแรงที่สุด
ความเย็น
ความเจ็บปวด
จากการสัมผัส
มองเห็น
การได้ยินต่างมีส่วนสำคัญในการชักนำและควบคุมการหายใจ
Fetal Heart Rate
120-160 beat/min
renal vascular system
diuresis ซึ่งจะดีขึ้นเองภายใน 48-72 ชม.
ปัสสาวะตั้งแต่อยู่ในครรภ์(ประมาณ 5 เดือน)
ปัสสาวะทันทีแรกเกิด, ไม่เกิน 48 hrs.
ปริมาณปัสสาวะประมาณ30-50cc/วันใน2-3วันแรก
Blood volume
ในวันแรกๆ50-60mmHg
ในวันที่4 60-80mmHg
physiologic anemia
ในระยะ 1-2 เดือนแรกหลังคลอด เม็ดเลือดแดงที่มี fetal hemoglobin จะถูกทำลายหมดไปในขณะที่ไขกระดูกสร้างเม็ดเลือด
Blood coagulation
2-3 วันแรกมีการแข็งตัวของเลือดช้าเพราะ prothrombin complex ต่ำ (Facter II (2), VII (7), IX (9), X (10))
Thermal regulation and thermal adaptation
ทารกไม่สามารถใช้ glycogen จากกล้ามเนื้อ (non-shivering thermogenesis )
ภาวะ hypothermia เกิดความเครียดทาง metabolic เลือดเป็นกรด เกิดภาวะ hypoglycemia ได้ง่าย
heat loss
การพาความร้อน (convection)
การนําความร้อน (conduction)
การแผ่รังสี (radiation)
การระเหยของน้ํา (evaporation)
hypothermia
ภาวะที่coretemperatureของร่างกายทารกต่ำกว่า36C
enzymesที่เกี่ยวกับการหายใจระดับเซลล์หยดุทำงาน
arrhythmia หรือหยดุ ทพงานเมื่อ core temperature ลดลงต่ำกว่า 35 Celcious
Adaptation of fluid and electrolytes homeostasis
สัดส่วนของ ECF น้ี จะลดลงอย่างรวดเร็วภายใน 2-3 วัน หลังคลอด
ถูกขับออกไปโดยทางผิวหนัง
ทางเดินหายใจ
ปัสสาวะและอุจจาระ
Mild dehydration
ถือว่ามีการขาดน้ำประมาณ3-5%ของน้ำหนักตัวทารกจะมีลักษณะริมฝีปาก แห้ง , ผิวแห้ง , ปัสสาวะเริ่มน้อยลง, แต่ไม่มีความผิด ปกติของ skin turgor, ไม่มี sunken eyeball หรือ anterior fontanelle depression
Moderate dehydration
มีการขาดน้ำประมาณ 7 -10 % ของน้ำหนักตัวนอกจากทารกจะมีลัก ษณะริมฝีปากและเยื่อบุต่างๆแห้งปัสสาวะน้อยลงชัดเจนแล้ว ยังมีsunkeneyeballและ depressed fontanelle แต่ยังไม่มีความผิดปกติของ skin turgor หรือ vital signs
Severe dehydration
ขาดน้ํา > 10% ของน้ําหนักตัวทารกจะมี instability of vital signs (เช่นชีพจรเบาและเร็วความดันโลหิตลดลงหรืออาจจะมีลักษณะของ shock ) มีการเปลี่ยนแปลงของระดับความรู้สึกตัว โดยทารกมกั จะซึมลง lethargy), poor skin turgor, oliguria หรือ anuria และมี azotemia(ภาวะที่ไตทาํงานลดลงอย่างรวดเร็วเช่น shock)ในที่สุด
Calcium metabolism
ประมาณ 75% ของปริมาณ calcium
การถ่ายเท calcium เกิดขึ้นหลัง จากอายุครรภ์ 28 สัปดาห์
Calcium metabolism
ระดับ calciumในเลือดในทารกแรกคลอดจะต่ำที่สุดใน24-48ชั่วโมง หลังคลอด โดยถือว่าhypocalcemia
physiologic jaundice
ภาวะ anemia ในทารก (Hct<40 % ในทารกคลอดครบกำหนด)
เกิดได้จาก3สาเหตุ
1.การเสียเลือด
2.การทำลายเม็ดเลือดแดง
3.การลดการสร้างเม็ดเลือดแดง
การป้องกันการติดเชื้อในทารกแรกเกิด
การเคร่งครัดต่อกระบวนการไร้เชื้อเมื่อจับต้องทารก หรือทำ
หัตถการต่าง ๆ
การจัดให้ผู้ป่วยอยู่ในส่ิงแวดล้อมที่มีเชื้อโรคน้อยที่สุด
การให้ยาปฏิชีวนะป้องกันการติดเชื้อเมื่อมีข้อบ่งชี้
สพล พิมพ์ประสานต์