Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และการละครไทย รัตนโกสินทร์ ร.1-ร.5,…
-
เกิดอหิวาตกโรคครั้งใหญ่ ทรงฟื้นฟูประเพณี วันวิสาขบูชา อิน-จัน แฝดสยามคู่แรกของโลกถือกำเนิดขึ้น ออกพระราชกำหนดห้ามสูบและซื้อขายฝิ่น
สมัยรัชกาลที่ 1 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ได้ทรงฟื้นฟูรวบรวมสิ่งต่างๆที่สูญเสีย และกระจัดกระจายให้สมบูรณ์ ในรัชสมัยนี้ได้มีการรวบรวมตำราฟ้อนรำขึ้นไว้เป็นหลักฐานสำคัญที่สุดในประวัติการละครไทย มีบทละครที่ปรากฎตามหลักฐานอยู่ 4 เรื่อง คือ บทละครเรื่องอุณรุฑ บทละครเรื่องรามเกียรติ์ บทละครเรื่องดาหลัง และบทละครเรื่องอิเหนา
สงครามเก้าทัพเป็นสงครามใหญ่ครั้งแรกภายหลัง พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ได้เพียง 3 ปี ในสงครามนี้ พม่าข้าศึกได้ยกกำลังพลประมาณ 144,000 คนมารุกราน เพื่อหวังพิชิตสยามให้จงได้ ถ้าหากสยามพ่ายศึกนี้ ก็ยากที่จะฟื้นตัวขึ้นมาได้อีก ดังนั้นสงครามครั้งนี้จึงมีความสำคัญมากต่ออนาคตของสยาม สงครามเก้าทัพเรียกตามจำนวนกองทัพที่พระเจ้าปะดุง กษัตริย์พม่า จัดแบ่งกำลังทหารออกเป็น 9 ทัพ เพื่อมาโจมตีไทย โดยมีเป้าหมายหลักคือ กรุงเทพฯ
-
ประติมากรรม ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ผลงานประติมากรรม ยังมีไม่มาก นัก ส่วนใหญ่เป็นการปั้นพระพุทธรูป เช่น พระประธานที่พระอุโบสถวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎี ราชวรมหาวิหาร กรุงเทพมหานคร
เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผนตอน ขุนแผนขึ้นเรือนขุนช้างแล้วเข้าห้องนางแก้วกิริยากับตอนขุนแผนพานางวันทองหนี บทละครเรื่องอิเหนา บทละครเรื่องไชยเชษฐ์ สังข์ทอง คาววี ไกรทอง มณีพิชัย กาพย์เห่เรือชมเครื่องคาวหวาน บทพากย์โขน ตอน พรหมาพัตร์ นากบาส นางลอย และเอราวัณ
บุคคลสำคัญ พระบามสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก
พระราชนิพนธ์เรื่อง รบพม่าที่ท่าดินแดง ทรงพระราชนิพนธ์เป็นนิราศ
-
-
-