Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลมารดาหลังคลอด - Coggle Diagram
การพยาบาลมารดาหลังคลอด
การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา ของมารดาหลังคลอด
Bladder
ความจุเพิ่ม หลอดไต กรวยไตขยาย
Renal function
ไตทำงานน้อยลงหลังคลอด
Glumerulaf filtration เพิ่มขึ้น ตั้งแต่ตั้งครรภ์
การปรับตัวด้านจิตสังคมและบทบาทการเป็นมารดาหลังคลอด
Blue
ตื่นเต้น กลัวการตั้งครรภ์
ร่างกายเปลี่ยนแปลง
อ่อนเพลียจากการคลอด
กังวลเกี่ยวกับการเลี้ยงดูลูก
กลัวการรักษา
การปรับตัวของมารดา 3 ระยะ
1 ระยะพึ่งพา Taking-in Phase
ระยะนี้ใช้เวลา 1-2 วันหลังคลอดจะมุ่งสนใจไปที่ตนเอง ต้องการพึ่งพาผู้อื่น
2.ระยะพฤติกรรมระหว่างพึ่งพาและไม่พึ่งพา Taking-Hold Phase
ระยะนี้ใช้เวลา 3-10 วันมารดามีประสบการณ์มากขึ้น มีการปรับตัวกับชีวิตใหม่
3.ระยะอิสระ Interdependent phase
เกิดขึ้นหลังจาก 10 วันของการคลอด ปฏิสัมพันธ์กับสังคมโดยในส่วนลึกของจิตใจยังห่วงใยบุตร
Bonding &attachment
การสร้างความผูกผันระหว่างแม่และลูก
การส่งเสริมการเลี้ยงดูลูกด้วยนมแม่
Breast
เต้านมช่วง pregnancy จะขยายเพิ่มมากขึ้น Lobules เจริญมากเพื่อสร้าง Prolactin
ระยะหลังคลอดปกติ :
1.สั่นเทาคล้ายเป็นไข้เล็กน้อย
2.กล้ามเนื้อสั่น
3.ฟันกระทบกัน
Background
ประวัติตั้งครรภ์
การคลอด
วิธีการคลอด
หัตถการ
Belly&Fundus
ระดับของยอดมดลูก การลดระดับของยอดมดลูก
การวัดความสูงของยอดมดลูก
1.กล้ามเนื้อหน้าท้องหย่อน
2.กระเพาะปัสสาวะว่าง
3.ควรวัดเวลาเดียวกันทุกวัน
4.หน่วยการวัด ซม.หรือนิ้ว
อาการปวดมดลูก
เกิดในช่วง2-3วันหลังคลอด
ในช่วงคลอด12ชม. แรกมดลูกหดรัดตัวสม่ำเสมอและแรง
ความแรง ความถี่ และความสม่ำเสมอของการหดรัดตัวจะลดลงหลังวันแรก
Bottom
การตัดฝีเย็บและการเย็บฝีเย็บ เพื่อให้เปิดช่องทางออกให้กว้างขึ้นเพื่อให้คลอดปลอดภัยกว่า เร็วกว่า
Episiotomy
การตัดฝีเย็บเพื่อขยายปากช่องคลอด
รอยฉีกขาดของฝีเย็บ
First degree
การฉีกขาดของผิวหนังบริเวณฝีเย็บและเยื่อบุช่องคลอดแต่ไม่ถึงชั้น fascia
Second degree
มีการฉีกขาดของfascia และชั้นกล้ามเนื้อแต่ไม่ถึงหูรูด
Third degree
มีการฉีกขาดของรูหูรูดทวารหนักร่วมด้วย
Fourth degree
การฉีดขาดถึงบริเวณทวารหนัก
ประจำเดือน
Follicle stimulating hormone จะลดลงใน10-12วัน
Body temperature&Blood pressure
อุณหภูมิหลังคลอด 24 ชม. จะเพิ่มขึ้นไม่เกิน 38องศา (100.40F)
ความดันโลหิต ไม่เกิน130/90 mmHg
อัตราการหายใจ 16-24 ครั้ง/นาที
Body condition
ฝ้าบริเวณใบหน้า
Areola ลานนมเข้มขึ้น
Linea nigra เส้นนหา้ท้องเข้มขึ้น
น้ำหนักลดลง
Bowel movement
1.การรับประทานอาหารลดลง
2.การขับถ่ายอุจจาระลดลงจากการเคลื่อนไหวของลำไส้ลดลง
3.การเผาผลาญร่างกายต่ำกว่าปกติ
ฮอร์โมน
Prolactin
ขึ้นอยู่กับการในนมบุตรด้วย ถ้าให้บุตรดูดนมวันละ 1-3 ครั้ง/วัน Prolactin จะอยู่ในกระแสเลือดระดับปกติ
กระบวนการสร้างและหลั่งน้ำนม
การผลิตน้ำนม
จะเริ่มจากการกระตุ้นการผลิตน้ำนมโดยการดูดนมของทารก
การหลั่งน้ำนม
กลไกนี้เรียกว่า Let down reflexเมื่อทารกดูดน้ำนมมารดา Poosterrion pituitary gland จะปล่อยhormone oxytocin
ท่าอุ้มและประคองเต้านม
1.Cradle Hold
2.Football Hold
3.Cross Cradle Hold
4.Side-lying position
การประคองเต้านม
1.C hold technique
2.U hold technique
3.V hold technique
การส่งเสริมสุขภาพมารดาหลังคลอด
ด้านจิตใจ
นอนไม่หลับ
เบื่ออาหาร
ร้องไห้ง่าย
กังวลเกี่ยวกับการเลี้ยงลูก
กลัวการรักษา
Postpartum assessments
เริ่มระยะที่ 4 ของการคลอด
Vital signs
Skin color
Location and firmness of the fundus
Amount and color of lochia
Perineum
การพยาบาลหลังคลอด
สภาพมดลูก
เลือดที่ออก
กระเพาะปัสสาวะ
แผลฝีเย็บ
T,P,R,BP
การดูแลความสะอาดและการป้องกันการติดเชื้อ
การดูแลความสะอาดและการป้องกันการติดเชื้อ
ใช้น้ำเปล่าทำความสะอาดแผลมดลูกจากการเช็ดจากหน้าไปหลัง
ล้างมือก่อนใส่ผ้าอนามัย
เปลี่ยนผ้าอนามัยทุก 4 ชม.
อาบน้ำอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง
อาการผิดปกติที่ควรมา รพ. ก่อนวันนัด/การมาตรวจตามนัด/การมีเพศสัมพันธ์หลังคลอด
มีไข้
เต้านมแดง เจ็บ เป็นตุ่มหนอง
ปวดปากมดลูกมากกว่าตอนที่อยู่ รพ.
แผลบวม
น้ำคาวปลามีกลิ่นเหม็น
ปัสสาวะแสบขัด
ถ่ายอุจาระลำบาก
นอนไม่หลับ
มาตรวจตามแพทย์นัด 2 ครั้ง
1.หลังคลอด 7 วันเพื่อติดตามแผลการคลอด
2.หลังคลอด 6 wks.เพื่อติดตามมดลูกเข้าอู่ คืนสภาพปกติ
การมีเพศสัมพันธ์
งดมีเพศสัมพันธ์ 4-6 wks.