Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 14 การจัดการทรัพยากรเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกาตรแบบมีส่วนร่วม…
หน่วยที่ 14 การจัดการทรัพยากรเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกาตรแบบมีส่วนร่วม
ความเคลื่อนไหวในการบริหารจัดการทรัพยากร
สถานการณ์การบริหารจัดการฐานทรัพยากร
ความสัมพันธ์ของฐานทรัพยากรกับบริบทของสังคมไทย
สถานการณ์ฐานทรัพยากร
ทรัพยากรร่วมและการบริหารจัดการ
แนวคิดเรื่องทรัพยากรร่วม
หลักการบริหารจัดการทรัพยากรร่วม
แนวทางแรก การควบคุมดดยตรงจากภาครัฐ
แนวทางการให้สัมปทานกับเอกชน
สิทธิชุมชนและการกระจายอำนาจในการจัดการทรัพยากร
สิทธิชุมชนในการจัดการทรัพยากร
แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับชุมชน
ชุมชนเป็นการรวมตัวของกลุ่มชนที่มีสัตถุประสงค์ร่วมกัน อาจเป็นการรวมตัวกันตามพื้นที่หรือไม่ใช่พื้นที่
ชุมชนเป็นระบบความสัมพันธ์ระหว่างความเชื่อ ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม เศรษฐกิจสังคมที่สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
ชุมชน หมายถึง องค์กรทางสังคม สมาชิกของชุมชนมีการติดต่อสื่อสารกันทางสังคม มีความเอื้ออาทรต่อกัน
ความหมายและลักษณะของสิทธิ
สิทธิมหาชน
สิทธิเอกชน
กรรมสิทธิ์
ทรัพย์สินส่วนรวม
สิทธิดั้งเดิม
สิทธิที่รับรองโดยกฎหมาย
แนวคิดสิทธิชุมชนในดารจัดการทรัพยากร
การกระจายอำนาจในการจัดการทรัพยากร
ความสำคัญของการกระจายอำนาจ
แนวคิดของการกระจายอำนาจ
รูปแบบการกระจายอำนาจ
การแบ่งอำนาจ
การมอบอำนาจ
การโอนอำนาจ
การแปรรูปกิจการของรัฐให้ภาคเอกชนดำเนินการ
ลักษณะของการกระจายอำนาจในการจัดการทรัพยากร
ระดับการกระจายอำนาจ
ระดับสิทะิอำนาจความรับผิดชอบ
ระดับทรัพยากรทางเศรษฐกิจ
การมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรของชุมชน
พัฒนาการของการมีส่วนร่วม
ปัญหาการดำเนินการตามนโยบายการพัฒนาของรัฐที่ไม่ถึงมือประชาชนเป้าหมายที่ยากจนและได้รับความเดือดร้อนจริง
ปัญหาผลกระทบจากการดำเนินการตามนโยบายและโครงการต่างของรัฐ
การสรา้งการมีส่วนร่วมในโครงการพัฒนาต่างๆ ในภาครัฐ
การเสริมสร้างประชาธิปไตยแบบมส่วนร่วม
กรอบคิดของการมีส่วนร่วม
ความหมายและความสำคัญ
ประชาชนเป็นพลเมือง การมีส่วนร่วมเป็นสิทธิและเป็นกลไกพื้นฐานของประชาชน
การมีส่วนร่วมเป็นกระบวนการและวิธีการเพื่อให้ความต้องการของประชาชนได้รับการตอบสนองอย่างเหมาะสม
การมีส่วนร่วมทำให้เกิดการแลกเปลี่ยน
สนับสนุนการกระจายอำนาจไปยังท้องถิ่น
แนวคิดการมีส่วนร่วม
หลักการพื้นฐานของการมีส่วนร่วม
อิสรภาพ
ความเสมอภาค
ความสามารถ
ประชาธิปไตย
จากประชาธิปไตยโดยตรง
จากประชาธิปไตยแบบตัวแทนหรือแบบทางอ้อม
จากประชาธิปไตยแบบมีส่วนรว่ม
การประเมินผลการมีส่วนร่วม
กระบวนการประเมินผลการมีส่วนร่วม
เกณฑ์และตัวชี้วัดการมีส่วนร่วม
กรณีศึกษาการจัดการทรัพยากรแบบมีส่วนร่วมอย่างยั่งยืน
แนวคิดและรูปแบบการจัดการป่าและทรัพยากรแบบมีส่วนรว่ม
รูปแบบการจัดการป่าแบบประชารัฐ
รูปแบบการจัดการป่าโดยกลุ่มผู้ใช้ป่า
รูปแบบการจัดการทรัพยากรโดยมีชุมชนเป็นฐาน
กรณีศึกษาการจัดการป่าและทรัพยากรอย่างมีส่วนร่วมแบบประชารัฐ
รักษาป่าที่คงสภาพไว้ และเพิ่มผลผลิตป่าไม้
รักษาความหลากหลายทางชีวภาพโดยขยาย
ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการป้องกัน