Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
[ วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และการละครไทย สมัยสุโขทัย ] :: :<3: shutterstock…
[ วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และการละครไทย สมัยสุโขทัย ] :: :<3:
[ ความเป็นมา ]
"สุโขทัย" มาจากคำสองคำคือ "สุข+อุทัย" มีความหมายว่า "รุ่งอรุณแห่งความสุข " เป็นอดีตราชธานีของราชอาณาจักรไทย
นาฏศิลป์สมัยสุโขทัยเป็นการแสดงประเภทระบำ รำ ฟ้อน มีวิวัฒนาการมาจากการละเล่นของชาวบ้าน เป็นการพักผ่อนหย่อนใจหลังจากเสร็จงาน หรือแสดงในงานบุญ งานรื่นเริงประจำปี แสดงให้เห็นรูปแบบของนาฏศิลป์ที่ปรากฏในสมัยนี้ คือ เต้น รำ ฟ้อน และระบำ
-
-
[ บุคคลสำคัญ ]
พ่อขุนรามคำเเหงมหาราช พระองค์ทรงบันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับนาฏศิลป์ไทยไว้ในศิลาจารึกหลักที่ ๑ “ดงบงคมกลองด้วยเสียงพาด เสียงพิณ เสียงเลื่อน เสียงขับ ใครจักมักเล่น เล่น ใครจักมักหัว หัว ใครจักมักเลื้อน เลื้อน”
พระมหาราชาลิไทย ได้พระราชนิพนธ์หนังสือไตรภูมิพระร่วงซึ่งมีเนื้อความตอนหนึ่งว่า “บ้างเต้น บ้างรำ บ้างฟ้อน ระบำบันลือ” แสดงให้เห็นรูปแบบของนาฏศิลป์ที่ปรากฏในสมัยนี้ คือ เต้น รำ ฟ้อน และระบำ
-
[ ข้อมูลเพิ่มเติม ]
-
ข้อมูลอ้างอิง
หนังสือเรียนรายวิชานาฏศิลป์ ม.4 (พว.) / หนังสือเรียนรายวิชานาฏศิลป์ ม.6 (พว.) / http://www.sysp.ac.th / เพจสื่อดนตรี-นาฏศิลป์แบบครูพะลัด
-