Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาความผิดปกติของทางเดินหายใจ - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาความผิดปกติของทางเดินหายใจ
Upper respiratory disorders
โรคจมูกอักเสบ
สาเหตุ/พยาธิสภาพ
viral rhinitis
Allergic rhinitis
การรักษา
รักษาตามอาการ
นอนพักผ่อนให้เพียงพอ ไม่ทำงานหนัก หรือออกกำลังมากเกินไป
ดูแลร่างกายให้อบอุ่น
อยู่ในห้องที่อากาศถ่ายเทได้ดี
กลั้วคอบ่อยๆ ด้วยน้ำสะอาด ดื่มน้ำมากๆ
ดูแลให้ได้รับยาแก้ปวดลดไข้
ใช้ช้อนกลางเมื่อรับประทานร่วมกับผู้อื่น
สวมผ้าปิดปากและจมูก
หลีกเลี่ยงการใกล้ชิดกับผู้ที่ภูมิต้านทานต่ำ
อาการและอาการแสดง
โรคจมูกอักเสบจากการติดเชื้อไวรัส
น้ำมูกข้น
มีไข้
เจ็บคอ หรือ แสบคอ
โรคจมูกอักเสบภูมิแพ้
น้ำมูกใส
ไม่มีไข้
คันคอ
Pharyngitis
อาการและอาการแสดง
จากเชื้อไวรัส
เจ็บคอเล็กน้อยถึงปานกลาง
น้ำมูกใส
ไอ เสียงแหบ
มีไข้ต่ำ ๆ ปวดศีรษะเล็กน้อย
จากเชื้อแบคทีเรีย
เจ็บคอมากจนกลืนน้ำและ อาหารลำบาก
ไข้สูง
ปวดเมื่อยตามตัว
ต่อมน้ำเหลืองโต
สาเหตุ/พยาธิสภาพ
เกิดจากการติดเชื้อไวรัส Rhinovirus, Adenovirus และ Coronavirus
เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย กลุ่มสเตรปโตค็อกคัส โดยเฉพาะเบต้า-ฮีโมไลติก สเตรปโตค็อกคัส กลุ่มเอ หรือ สเตรปโตค็อกคัสไพโอจีเนสเชื้อหนองใน เชื้อ หนองในเทียม เชื้อคอตีบ
เกิดจากการติดเชื้อราในผู้ที่มี ภูมิคุ้มกันต่ำ เช่น ผู้ป่วยมะเร็ง ผู้ที่ได้รับยาเคมีบำบัด ผู้ป่วยเอดส์ เป็นต้น
การรักษา
รักษาตามสาเหตุ และการรักษาประคับประคองตามอาการ
ให้ยาปฏิชีวนะ 5-14 วัน
Tonsillitis & Adenoiditis
อาการและอาการแสดง
เจ็บคอมาก กลืนลำบาก ไข้สูงมากกว่า 38.3 องศาเซลเซียส หนาวสั่น ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยตาม ตัว อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร มีกลิ่นปาก และอาจมีปวดร้าวไปที่หู ตรวจพบทอนซิลโต แดง
สาเหตุ/พยาธิสภาพ
การอักเสบมักเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย กลุ่ม Beta–hemolytic streptococcus, Staphylococcus
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล/กิจกรรมทางการพยาบาล
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลก่อนผ่าตัด
ปวด เนื่องจากมีการอักเสบของต่อมทอนซิล
มีไข้ เนื่องจากการอักเสบและติดเชื้อ
วางกระเป๋าน้ำแข็งบริเวณคอเพื่อบรรเทาปวด รับประทานยาแก้ปวดทุก 4-6 ชั่วโมง และรับประทานก่อนอาหาร 30 นาที
กลั้วคอบ่อยๆ
รับประทานยาแก้ไอตามแผนการรักษา
รับประทานยาปฏิชีวนะ ให้ครบตามแผนการรักษา
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลหลังผ่าตัดในระยะ 24 ชั่วโมงแรก
เสี่ยงต่อการสำลักหลังผ่าตัดเนื่องจาก
รีเฟล็กซ์การกลืนผิดปกติ
จัดท่านอนตะแคงป้องกันการสำลักหรือการอุดกั้นในทางเดินหายใจ
ประเมินรีเฟลกซ์การกลืน
หากรู้สึกตัว จัดท่านอนศีรษะสูง 45 องศา
กลั้วคอเบาๆด้วยน้ำเกลือวันละ 2-3 ครั้ง
เสี่ยง/ มี่เลือดออกจากแผลผ่าตัด
เสี่ยงต่อการเกิดแผลแยกหลังผ่าตัด
ประเมินอัตรา ลักษณะหายใจ ฟังเสียงปอดทุกชั่วโมง กระตุ้นการขับเสมหะ
อธิบายว่า อาจมีเลือดออกใน 12-24 ชั่วโมงแรกหลังผ่าตัด
ติดตามภาวะเลือดออก
แนะนำไม่ควรกลืนน้ำลาย ให้บ้วนลงในชามรูปไต
ไม่ขากเสมหะจนกว่าแผลในคอจะหายดี
รับประทานอาหารอ่อน
ปวดเนื่องจากมีการอักเสบของต่อม ทอนซิล
มีไข้ เนื่องจากการอักเสบและติดเชื้อ
ดูแลให้ได้รับยาแก้ปวดเมื่อมีไข้หรือเจ็บคอ
ดื่มน้ำอย่างน้อยวันละ 8-10 แก้ว
จิบน้ำเย็น หรืออมก้อนน้ำแข็ง ลดปวด
การพยาบาลในระยะหลัง 24 ชั่วโมงหลังผ่าตัดต่อมทอนซิล
ได้รับสารอาหารไม่เพียงพอเนื่องจาก
รับประทานอาหารได้น้อย จากอาการ ปวดขณะกลืน
ดูแลและแนะนำการรับประทานอาหาร
ไม่ควรดื่มเครื่องดื่มหรืออาหารที่มีรสเปรี้ยว เผ็ด
ไม่ควรดื่มเครื่องดื่มหรือรับประทานอาหารที่มีสีแดง
ไม่ควรรับประทานอาหารที่อุ่นเกินไปหรือร้อน
ไม่สุขสบายเนื่องจากปากแห้ง/ลม หายใจมีกลิ่นเหม็น
บ้วนปากด้วยน้ำยาบ้วนปากหรือน้ำเกลือ
ดื่มน้ำมากๆ
ไม่สามารถดูแลตนเองเพื่อป้องกัน ภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัดได้ เนื่องจากพร่องความรู้
สังเกตอาการผิดปกติ
ห้ามแกะแผ่นขาวที่ติดอยู่ที่แผล
ห้ามขากเสมหะจนกว่าแผลจะหาย
งดดื่มสรา สูบบุหรี่
ห้ามรับประทานอาหารแข็งหรือมีกากมาก
Sinusitis, Rhinosinusitis
อาการและอาการแสดง
ปวด กดเจ็บบริเวณโพรงอากาศข้างจมูก
ลมหายใจมีกลิ่นเหม็น
สาเหตุ/พยาธิสภาพ
เกิดหลังการติดเชื้อในทางเดินหายใจหรือภูมิแพ้ซึ่งทำให้เกิดการอุดตันของสิ่งคัดหลั่งในโพรงอากาศและเกิด การติดเชื้อตามมา หรือในผู้ที่มีภาวะสันจมูกคด nasal polyps มีการโตของ adenoid การบาดเจ็บของ จมูก การมีสิ่งแปลกปลอมในจมูก การดำน้ำหรือว่ายน้ำ
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล/กิจกรรมทางการพยาบาล
การหายใจไม่มีประสิทธภาพ เนื่องจากการช่องจมูกบวมและอุดตัน
ประเมินสัญญาณชีพ และการมีเสมหะคั่งค้างในทางเดินหายใจ
จัดให้นอนศีรษะสูง
ปวดเนื่องจากเนื้อเยื่อได้รับการ บาดเจ็บ
ประคบด้วยความเย็น
กระตุ้นให้ดื่มน้ำบ่อยๆ
ดูแลให้ได้รับยาแก้ปวดตามแผนการรักษา
มีโอกาสเลือดออกหลังผ่าตัด
สังเกตการมีเลือดออก
ห้ามผู้ป่วยสั่งน้ำมูกแรงๆ
Nasal bleeding, Epistaxis
อาการและอาการแสดง
เลือดไหลออกจากจมูก
สาเหตุ/พยาธิสภาพ
สาเหตุจากการบาดเจ็บ สิ่งแปลกปลอม การติดเชื้อ ความผิดปกติในการแข็งตัวของเลือด เนื้องอก ในช่องจมูก
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล/กิจกรรมทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อภาวะช็อค เนื่องจากมีการเสียเลือดออกจากร่างกาย
จัดท่านั่งศีรษะสูงก้มหน้าเล็กน้อยป้องกันเลือด
ประเมินจำนวน สี ลักษณะของเลือดที่ออก
วัดสัญญาณชีพ
ถ้าเลือดออกไมมาก ให้ผู้ป่วยใช้มือบีบจมูก 2 ข้างให้แน่น
ใช้กระเป๋าน้ำแข็งประคบสันจมูก
Nasal polyps
อาการและอาการแสดง
คัน จาม คัดจมูก น้ำมูกไหลเรื้อรัง
สาเหตุ/พยาธิสภาพ
เกิดจากการอักเสบเรื้อรังของ จมูก จากการเป็นโรคหวัด ภูมิแพ้หรือได้รับการระคายเคืองเป็นเวลานานจากภูมิแพ้ หอบหืด จากผนัง ด้านข้างของโพรงจมูก
การรักษา
การกำจัดริดสีดวงจมูกออกโดย
การรักษาด้วยยา
การรักษาโรคที่เกิดร่วมและการป้องกันการเกิดซ้ำของริดสีดวงจมูก
Cancer
Head and neck cancer
อาการและอาการแสดง
Nasopharynx cancer
คัดแน่นจมูก
ปวด
น้ำมูกไหลข้างเดียว
หูอื้อ ฟังไม่ชัด
Laryngeal cancer, Cancer of the larynx
เสียงแหบ
อาการอื่น
อาการบวมหรือก้อนในคอ
หายใจลำบาก
หายใจเสียงดัง
กลืนลำบาก
สาเหตุ/พยาธิสภาพ
ปัจจัยเสี่ยงของมะเร็งศีรษะและลำคอ คือ พันธุกรรม การดื่มสุรา สูบบุหรี่ เชื้อไวรัส Human papilloma virus , Epstein-Barr virus ภาวะกรดไหลย้อน อาชีพเกษตรกร ช่างไม้ ซึ่งสัมผัส ฝุ่นไม้หรือ ขี้เลื่อย ช่างโลหะโครเมี่ยม นิกเกิล เรเดียม
การรักษา
การผ่าตัด
การรักษาด้วยรังสี
การใช้เคมีบำบัด
Lower Respiratory Disorders
Bronchitis
อาการและอาการแสดง
ไข้ อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ ไอบ่อย
ไอมีเลือดปน
มีเสมหะ
สาเหตุ/พยาธิสภาพ
การติดเชื้อจากการติดเชื้อแบคทีเรีย
สารเคมี ควัน ไอเสียรถยนต์ ฝุ่นละออง มลพิษ
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
แบบแผนการหายใจไม่มีประสิทธิภาพเนื่องจากหลอดลมหดเกร็งตัว
มีไข้จากการติดเชื้อในทางเดินหายใจ
กลไกทำให้ทางเดินหายใจให้โล่งไม่มีประสิทธิภาพเนื่องจากการติดเชื้อและมีเสมหะมาก
กิจกรรมทางการพยาบาล
ประเมินการหายใจ ฟังปอด ทุก 4 ชั่วโมง
ดูแลการพักผ่อนและการได้รับอาหารและน้ำให้เพียงพอ ดื่มน้ำอุ่นมากๆ
ดูแลให้ทางเดินหายใจชุ่มชื้น
แนะนำ/ กระตุ้นให้ผู้ป่วยไอที่ถูกวิธี ขับเสมหะและบ้วนทิ้งทุก 2 ชั่วโมง และปิดปากทุกครั้ง
รักษาความสะอาดปากและฟัน ล้างมือบ่อยๆ
ดูแลให้ยาตามแผนการรักษา
Pneumonia, Pneumonitis
อาการและอาการแสดง
ไข้สูงทันทีทันใด
หนาวสั่น
อ่อนเพลีย
หายใจหอบ
สาเหตุ/พยาธิสภาพ
การติดเชื้อ
การฉายรังสีในมะเร็งปอด มะเร็งเต้านม
การสำลักสิ่งแปลกปลอม สารเคมีหรือน้ำย่อยขณะอาเจียนหรือขย้อน
Hypoventilation ในผู้ป่วยติดเตียง
กิจกรรมทางการพยาบาล
เนื้อเยื่อของร่างกายมีโอกาสได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอเนื่องจากการติด เชื้อที่ปอด
แบบแผนการหายใจไมมีประสิทธภาพ เนื่องจากการอักเสบของเนื้อปอด
ไม่สามารถทำให้ทางเดินหายใจให้โล่ง เนื่องจากเสมหะเหนียวข้น
ทางเดินหายใจอุดกั้นเนื่องจากเสมหะมาก
มีไข้เนื่องจากมีการติดเชื้อที่ปอด
ไม่สุขสบายจากการเจ็บหน้าอก
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะการหายใจ
ล้มเหลวเนื่องจากการแลกเปลี่ยนก๊าซบกพร่อง
เสี่ยงต่อการติดเชื้อในกระแสเลือด
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
วัดสัญญาณชีพ
ประเมินภาวะพร่องออกซิเจนจากระดับความรู้สึกตัว
ฟังเสียงปอดเป็นระยะๆ
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับออกซิเจน
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง
สอนการฝึกการหาย
ดูแลให้ยาขยายหลอดลม
สังเกตลักษณะ สี กลิ่นของเสมหะ
เก็บเสมหะส่งตรวจ
ติดตามผลส่งตรวจและเพาะเชื้อ
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะภายหลังเก็บเสมหะ/เลือดส่งตรวจ
ทำความสะอาด ปาก ฟัน ร่างกายและสิ่งแวดล้อม
ให้ดื่มน้ำอย่างเพียงพอ
ดูแลให้พักผ่อนอย่างเพียงพอ
ดูแลให้ยาบรรเทาปวด
ป้องกันการแพร่ กระจายเชื้อโรค
Lung abscess
อาการและอาการแสดง
ไข้
ไอเสมหะมาก
มีกลิ่นเหม็น
เจ็บหน้าอก
น้ำหนักลด
สาเหตุ/พยาธิสภาพ
การทำหัตถการในช่องปาก Sinobronchial infections, Dental sepsis และ Bronchiectasis เชื้อที่เป็นสาเหตุของฝีในปอดที่พบได้บ่อย คือ กลุ่ม 1) Aerobic และ Anaerobic Streptococci
2) S. aureus และ 3) Gram-negative organisms การติดเชื้อหลายชนิด มักเกิดจากการสูดหายใจเอาสิ่งแปลกปลอมเข้าไปในเนื้อปอด
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
การหายใจไม่เพียงพอเนื่อง
จากปอดขยายตัวได้ไม่เต็มที่
มีโอกาสเกิดภาวะเนื้อเยื่อของร่างกายได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอเนื่องจาก การทำงานของปอดมีประสิทธิภาพลดลง
ไม่สุขสบายจากการเจ็บหน้าอก
มีไข้เนื่องจากมีการติดเชื้อที่ปอด
กิจกรรมทางการพยาบาล
วัดสัญญาณชีพ
ประเมินภาวะพร่องออกซิเจนจากระดับความรู้สึกตัว
ฟังเสียงปอดเป็นระยะๆ
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง
สอนผู้ป่วยฝึกการหายใจ
สอนและสาธิตการไออย่างมีประสิทธิภาพ
สังเกตลักษณะ สี กลิ่นของเสมหะ
เก็บเสมหะส่งตรวจ
ดูแลให้ยาปฏิชีวนะ
ดูแลให้ได้รับยาขยายหลอดลม
Lung Tuberculosis, TB lung
อาการและอาการแสดง
ไอเรื้อรังเกิน 2 สัปดาห์
ไอแห้งๆหรือมีเสมหะสีเหลือง เขียวหรือไอปนเลือด
เบื่ออาหาร น้ำหนักลด
มีไข้ต่ำๆ ตอนบ่ายหรือเย็น
เหนื่อยหอบ อ่อนเพลีย
เจ็บแน่นหน้าอก
สาเหตุ/พยาธิสภาพ
เชื้อ Mycobacterium tuberculosis
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
โอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนจากฤทธิ์ข้างเคียงของยา
พร่องความรู้เกี่ยวกับการป้องกันการ แพร่กระจายเชื้อ/
มีโอกาสแพร่ กระจายเชื้อ
กิจกรรมทางการพยาบาล
ให้คำแนะนำ หลังรับประทาน
ให้คำแนะนำการรับประทานยา
งดดื่มสราและหลีกเลี่ยงการใช้ยาอื่นที่ไม่จำเป็น
รับประทานอาหารให้ถูกสุขลักษณะ
ใช้ผ้าหรือกระดาษปิดปากและจมูกขณะไอหรือจาม
ให้สมาชิกในครอบครัวทุกคนและเพื่อนร่วมงานใกล้ชิด
Empyema, Empyema thoracis
อาการและอาการแสดง
ไข้
หอบเหนื่อย
เบื่ออาหาร
อ่อนเพลีย
เจ็บหน้าอกเฉพาะเวลาหายใจเข้าสุดหรือไอ
สาเหตุ/พยาธิสภาพ
เกิดหลังการติดเชื้อ pneumonia, TB, lung abscess หรือหลังผ่าตัดปอด ผ่าตัดเปิด ทรวงอก หลังการเกิด hemothorax ถูกยิงที่ทรวงอก
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
แบบแผนการหายใจไม่มีประสิทธภาพ
เนื่องจากมีหนองในช่องเยื่อหุ้มปอด
มีโอกาสเกิดภาวะเนื้อเยื่อของร่างกายได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ
เนื่องจาก การทำงานของปอดมีประสิทธิภาพลดลง
มีไข้เนื่องจากมีการติดเชื้อที่เยื่อหุ้มปอด
ไม่สุขสบายจากการเจ็บหน้าอก
วิตกกังวลเกี่ยวกับการผ่าตัด
กิจกรรมทางการพยาบาล
วัดสัญญาณชีพ
ประเมินภาวะพร่องออกซิเจน
ฟังเสียงปอดเป็นระยะๆ
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะ
ทำความสะอาด ปาก ฟัน
สอนผู้ป่วยฝึกการหายใจ
ดูแลให้ยาปฏิชีวนะ
Bronchiectasis
อาการและอาการแสดง
ไอเรื้อรัง
ไอมีเสมหะมาก
อ่อนล้า
น้ำหนักลด
หายใจมีเสียงหวีด
เจ็บหน้าอก
สาเหตุ/พยาธิสภาพ
โรคซิสติกไฟโบรซิส ซึ่งเป็นความผิดปกติทางพันธุกรรมที่ทำให้ร่างกายมี การสร้างสารคัดหลั่งผิดปกติ ระบบภูมิคุ้มกันทำงานผิดปกติ โรคภูมิคุ้มกันทำลายตัวเอง โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง การติดเชื้อเอชไอวี ภาวะขาดสารอัลฟา-1 แอนตี้ทริปซิน ซึ่งเป็นความ ผิดปกติแต่กำเนิด การติดเชื้อที่ปอด
การรักษา
การรักษาด้วยยา
การออกกำลังกาย
ดื่มน้ำให้มาก
การใช้อุปกรณ์ที่มีกลไกระบบสั่นสะเทือนและแรงดัน
โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
อาการและอาการแสดง
เหนื่อยหอบ
ไอเรื้อรัง
ไอมีเสมหะ
หายใจ ลำบาก
สาเหตุ/พยาธิสภาพ
เป็นผลจากการได้รับสารระคายเคืองเข้าสู่ทางเดินหายใจต่อเนื่อง ส่งผลให้มีการ อักเสบเรื้อรังในหลอดลม เนื้อปอดและหลอดเลือดปอด โดยมีเซลล์ที่สำคัญ คือ T-lymphocyte neutrophil และmacrophage ทำให้มีการหลั่ง inflammatory mediator ที่สำคัญคือ leukotriene B4, interleukin 8, tumor necrosis alpha นอกจากนี้ยัง มีกระบวน การที่สำคัญคือ การเพิ่มของ oxidative stress, ความไม่สมดุลของ proteinase กับ antiproteinase
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
แบบแผนการหายใจไมมี
ประสิทธภาพ เนื่องจากหายใจลำบาก
ทางเดินหายใจไม่โล่งเนื่องจากการหด เกร็งของหลอดลม/มีเสมหะมาก/การ ไอไมมีประสิทธิภาพ
การแลกเปลี่ยนก๊าซบกพร่องใน เนื่องจากเนื้อเยื่อปอดเสียความ ยืดหยุ่น/ทางเดินหายใจไม่โล่ง
การระบายอากาศและการ แลกเปลี่ยนกาซผิดปกติ
การดูแลตนเองบกพร่องเนื่องจาก อ่อนล้าจากการหายใจลำบากและมี การระบายอากศม่เพียงพอ
ความทนต่อการทำกิจกรรมลดลง
ความสามารถในการทำกิจกรรมลดลง
กิจกรรมทางการพยาบาล
ตรวจร่างกายและฟังปอดเป็นระยะๆ
จัดท่าให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าศีรษะสูง
ให้ผู้ป่วยหายใจลึกๆและไอออกมา
สอนการฝึกหายใจอย่างมีประสิทธิภาพ
ดูแลผู้ป่วยให้ไดรับออกซิเจน
ดูแลให้ยาขยายหลอดลม
กระตุ้นให้ดื่มน้ำอุ่นมากๆอย่างน้อยวันละ 2 – 3 ลิตร/วัน
ติดตามผลการตรวจ ABG
ส่งเสริมในการทำกิจวัตรประจำวันด้วยตนเอง
Asthma
อาการและอาการแสดง
หายใจไม่ออก
ไอแห้งๆ
หายใจมีเสียงวี๊ด
สาเหตุ/พยาธิสภาพ
เกิดจาก 1) สารก่อภูมิแพ้ 2) มลพิษในอากาศ
3) การติดเชื้อของทางเดินหายใจ 4) การออกกาลังกายและ hyperventilation 5) อากาศที่เปลี่ยนแปลง
6) ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ 7) อาหารและยา 8) การแสดงอารมณ์ที่รุนแรง 9) การสูบบุหรี่ 10) สิ่งที่ทาให้เกิดการระคายเคือง
กิจกรรมทางการพยาบาล
ประเมินความรุนแรงของโรค
การบริหารยาและสารน้ำตามแผนการรักษา
การพยาบาลเพื่อป้องกันภาวะอันตราย
พยายามไม่ให้ผู้ป่วยออกแรงและเหนื่อยเกินไป
จัดท่าให้ผู้ป่วยหายใจได้สะดวก
สอนหายใจออกโดยเป่าลมออกทางปากช้าๆ
สังเกตอาการของการติดเชื้อ
รักษาทางเดินหายใจให้โล่ง
การพยาบาลเพื่อการส่งเสริมสุขภาพและการดูแลตนเอง
งดสูบบุหรี่ ไม่อยู่ใกลผู้สบบุหรี่
ออกกำลังกายสม่ำเสมอตามความสามารถ
แนะนำการใช้ยาอย่างถูกวิธี และต่อเนื่อง
ผ่อนคลายความเครียด
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ทางเดินหายใจไม่โล่ง
เนื่องจากมีการอุดกั้นของหลอดลม
อ่อนเพลียเนื่องจากเสียน้ำและเกลือแร่จากการหอบ
บกพร่องในการแลกเปลี่ยนออกซิเจน
เนื่องจากมีการตีบแคบของทางเดินหายใจ
covid-19
อาการและอาการแสดง
อาการทั่วไป
มีไข้
ไอแห้ง
อ่อนเพลีย
อาการที่พบไม่บ่อย
ปวดเมื่อยเนื้อตัว
เจ็บคอ
ท้องเสีย
ตาแดง
ปวดศีรษะ
การป้องกัน
ลดการสัมผัสปัจจัยเสี่ยง
รักษาระยะห่าง
หลีกเลี่ยงการสัมผัสบริเวณตา จมูกปาก โดยไม่ได้ล้างมือ
ควรล้างมือบ่อยๆ
ควรใส่หน้ากาก