Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 วิวัฒนาการทางการพยาบาลจิตเวช, นางสาวปิยะธิดา ศรีสืบมา…
บทที่ 1
วิวัฒนาการทางการพยาบาลจิตเวช
วิวัฒนาการจิตเวชศาสตร์ในต่างประเทศ
ประวัติความเป็นมาของจิตเวชศาสตร์เป็นสิ่งที่ช่วยให้เกิดความเข้าใจถึงการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการทางด้านเวช ได้แก่ แนวความคิดทฤษฎี ความเชื่อ การศึกษาค้นคว้า ตลอดจนการปฏิบัติของประชาชนทั่วไปต่อความเชื่อทางจิตเวชตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
วิวัฒนาการความเป็นมาของวิตเวชศาสตร์ จำ แนกได้เป็น 6 ยุค
ยุคก่อนประวัติศาสตร์หรือยุคดึกดำ บรรพ์
คนเชื่อในสิ่งศักดิ์สิทธิ์ อำ นาจลึกลับ ผีสาง นางไม้ เทวดาเจ้าป่า เจ้าเขา คนเจ็บป่วยทางจิตจึงถูกกล่าวหาว่าถูกวิญญาณภูตผี ปีศาจเข้าสิงหรือเทวดาลงโทษ เนื่องจากไม่เคารพทำ ผิดกฎเกณฑ์
ยุควัฒนธรรมกรีกและโรมัน
• ระยะที่กรึกเจริญรุ่งเรือง ความเชื่อในเรื่องการเจ็บป่วยทางจิตและการดูแลรักษาผู้ป่วยจิตเวชเปลี่ยนแปลงไปหันไปยึดหลักธรรมชาติ
ㆍHippocrates แพทย์ชาวกรีก เป็นบิ ดาแห่งการแพทย์ เชื่ออว่าความเจ็บป่วยทางกายและจิตเป็นผลมาจากธรรมชาติของเหลวในร่างกายไม่สมดุล
ยุคกลางหรือยุคมืด
เป็นระยะเริมแรกของยุคคริสเตียน ความเชื่อด้านจิตเวชกลับมาเชื่อ เรื่องไสยศาสตร์เหมือนยุคดึกดำ บรรพ์อีก มีการทรมานผู้ป่วยด้วยวิธีต่างๆ เชื่อเรื่องแม่มดมนต์คาถา มีการเผาทั้งเป็น การถ่วงน้ำ
ยุคก่อนจิตเวชสมัยใหม่
ศตวรรษที่ 17-18 เป็นหัวเลี้ยวหัวต่อของการแพทย์ปัจจุบันและพัฒนาการทางวิทยาศาสตร์เริ่มมีโรงพยาบาลจิตเวช แต่วิธีการรักษายังใช้การกักขังไม่ให้ติดต่อกับใคร ผู้ป่วยส่วนมากเป็นที่รังเกียจและถูกทอดทิ้ง ดูถูกเหยียดยาม
ยุคต้นของจิตเวชสมัยใหม่
ㆍเบนจามิน รัช บิดาแห่งจิตเวชของสหรัฐอเมริกา เขียนหนังสือเกี่ยวกับความผิดปกติ ทางจิตเป็นเล่มแรกเริ่มรับผู้ป่วยไว้รักษาในโรงพยาบาล
ㆍประเทศฝรั่งเศส Philippe Pinel แพทย์สถานรักษาโรคBicetre Asylumg เป็นผู้ปลดโซ่ตรวนให้ผู้ป่วยที่ถูกกักขัง ถือว่าเป็นสัญลักษณ์ของจิตเวชสมัยใหม
ㆍWilliam Tuke ปี 1 732-1822 พ่อค้าชาวอังกฤษเริ่มเป็นปากเสียง
ให้ผู้ป่วยจิตเวช จัดหาทุนเพื่อการรักษา
จิตเวชสมัยใหม่
ปี 1856-1895 Jean Charcot จิตแพทย์ ชาวฝรั่งเศสใช้วิธีการสะกดจิต
ในการรักษาทางจิต
ปี 1856-1939 Sigmund Frend แพทยืชาวออสเตรีย รักษาโดยการ
สะกดจิต คิดค้น และพัฒนทฤษฎีจิตวิเคราะห์
ประมาณปลายศตวรรษที่ 19-20 มีการแสดงหาความรู้ด้วยระเบียบวิธี
ทางวิทยาศาสตร์ พัฒนาแนวคิดทฤษฎีทางจิตสังคม
ปลายศตวรรษที่ 20 ที่สหรัฐอเมริกา ได้มีการเรียกร้องสิทธิในเรื่องต่างๆ
เช่น ผู้พิการ ให้มีสิทธิ์เท่าเทียมกัน
ประเด็นที่เกี่ยวข้องการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวชในประเทศไทย
ความผิดปกติทางจิตเป็นสาเหตุของการสูญเสียมีสุขภาวะในระดับต้นๆ
ปัญหาสุขภาพจิตเด็กมีมากขึ้น
โครงสร้างประชากรมีผู้สูงอายุมากขึ้นและครอบครัวมีขนาดเล็กลง
การเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยี สังคม สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจและการเมือง
การบริหรสขภาพน้นคุณภาพการดูแลและความปลอดภัยของผู้ป่วยมากขึ้น
แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯฉบับที่11มุ่งสู้สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข
วิวัฒนาการของจิตเวชศาสตร์
ในประเทศไทย
ยุคดั้งเดิม ปี พ.ศ.2432-2467 สร้างโรงพยาบาลคนที่เสียจริตแห่งแรกที่ปากคลองสาน
ยุคโรงพยาบาลจิตเวชแผนใหม่ ปี พ.ศ.2463-2484 หลวงวิเชียรแพทยาคมเป็นผู้อำ นวยการคนแรก
ยุคของงานสุขภาพจิต ปี พศ.2485-2503 ริเริ่มงานส่งเสริม้องกันปัญหาสุขภาพจิต
ยุคแรกเริ่มงานสุขภาพจิตชุมชน ปี พศ. 2504-2514 ดำ เนินงานตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ปี2507
ยุคของการผสมผสานงานสุขภาพจิตเข้ากับระบบบริการสาธารณสุข ปีพศ.2515-2524
ยุคของการสาธารณสุขชุมชนมูลฐาน ปี พศ.2525-2534
ยุคของงานส่งเสริมป้องกัน ปี พศ.2535 ถึงปัจจุบัน
วิวัฒนาการของการพยาบาลสุขภาพจิต
และจิตเวชในต่างประเทศ
ㆍเริ่มตั้งแต่สมัย Florence Nightingale ปี 1930 มีการมองผู้ป่วยอย่างเป็นองค์รวมประกอบด้วยร่างกาย และจิตวิญญาณ ไม่สามารถแยกออกจากกันได้ ผู้ป่วยเป็นสมาชิกคนหนึ่งของครอบครัวและชุมชน
ㆍ ปี 1913 Eiffe Taylor บรรจุวิชาการพยาบาลจิตเวชไว้ในหลักสูตรการพยาบาล มหาวิทยาลัย John Hopkins โดยการบูรณาการมโนทัศน์การพยาบาลทั่วไปและการพยาบาลสุขภาพจิตเข้าด้วยกัน
นางสาวปิยะธิดา ศรีสืบมา 6401110801094