Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สุดโหด :fire:, ผู้อำนวยการแสดง (Producer) - Coggle Diagram
สุดโหด :fire:
ละครสังคีต
-
เรื่องที่แสดง
นิยมแสดงบทประราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว มีอยู่ ๔ เรื่อง คือ หนามยอกเอาหนามบ่ง วิวาห์พระสมุทร มิกาโด วั่งตี่ มีข้อสังเกตประการหนึ่ง คือ ทรงใช้ชื่อเรียกละครทั้ง ๔ นี้แตกต่างกัน กล่าวคือ ในเรื่องหนามยอกเอาหนามบ่ง ทรงเรียกว่า "ละครสลับลำ" เรื่องวิวาห์พระสมุทร ทรงเรียก "ละครพูดสลับลำ" เรื่องมิกาโด และวั่งตี่ ทรงเรียก "ละครสังคีต" การที่ทรงเรียกชื่อบทละครทั้ง ๔ เรื่องแตกต่างกันนั้น นายมนตรี ตราโมท และนายประจวบ บุรานนท์ ข้าราชสำนักในประบาทสมเด็จพระมงกถฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งมีโอกาสร่วมในการแสดงละครของพระองค์ท่านให้ความเห็นตรงกันว่า เรื่องหนามยอกเอาหนามบ่งและเรื่องวิวาห์พระสมุทร น่าจะเป็นเรื่องที่ทรงพระราชนิพนธ์ขึ้นก่อน ซึ่งขณะนั้นคงทรงยังไม่ได้คิดเรียกชื่อละครประเภทนี้ว่า "ละครสังคีต" ต่อมาในระยะหลัง เมื่อทรงพระราชนิพนธ์เรื่องมิกาโด และเรื่องวั่งตี่ ทรงใช้คำว่า "ละครสังคีต" สำหรับเรียกชื่อละครประเภทหนึ่ง
-
-
-
เครื่องแต่งกาย
แต่งแบบสมัยนิยม คำนึงถึงสภาพความเป็นจริงของฐานะตัวละครตามท้องเรื่อง และความงดงามของเครื่องแต่งกาย
-
การแสดง
มุ่งหมายที่ความไพเราะของเพลง ตัวละครจะต้องร้องเองคล้ายกับละครร้อง แต่ต่างกันที่ละครร้องดำเนินเรื่องด้วยบทร้อง การพูดเป็นการเจรจาทวนบท ส่วนละครสังคีตมุ่งบทร้อง และบทพูดเป็นหลักสำคัญในการดำเนินเรื่อง เป็นการแสดงหมู่ที่งดงามในการแสดงแต่ละเรื่องจะต้องมีบทของตัวตลกประกอบเสมอ และมุ่งไปในทางสนุกสนาน
บุคคลสำคัญ
ลักษณะสำคัญ
ละครแบบหนึ่ง ได้รับอิทธิพลจากละครแบบยุโรป ตัวละครร้องและพูดบทของตน การร้องเพลงและการพูดมีความสำคัญเท่ากัน ถ้าตัดส่วนใดออกเนื้อเรื่องจะขาดไป ดนตรีประกอบไพเราะ มีการจัดฉากและแต่งกายตามสมัยที่ปรากฏในเรื่อง
-
ละครบทพูด
-
-
เพลงร้อง
ละครพูดแบบร้อยกรอง
เพลงร้องไม่มีผู้แสดงดำเนินเรื่องละครพูดแบบร้อยกรองและดำเนินเรื่องโดยการพูดเป็นคำประพันธ์ชนิดนั้นๆ
.ละครพูดสลับลำ
ละครพูดสลับลำมีเพลงร้องเป็นบางส่วนโดยทำนองเพลงขึ้นอยู่กับผู้ประพันธ์ที่จะแต่งเสริมมาในเรื่อง
-
-
ผู้แสดง
-
ละครพูดแบบร้อยกรอง ใช้ผู้แสดงทั้งชายและหญิง มีบุคคลิกและการแสดงเหมาะสมตามลักษณะที่บ่งไว้ในบทละคร น้ำเสียงแจ่มใสชัดเจนดี เสียงกังวาน พูดฉะฉาน ไหวพริบดี
-
-
บุคคลสำคัญพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ ได้รับการยกย่องพระเกียรติในฐานะ 'พระบิดาแห่งละครพูด' ด้วยพระปรีชาสามารถที่โดดเด่นทางด้านการละคร ทรงพระราชนิพนธ์บทละครจำนวนมากมายกว่า 100 เรื่อง
-
เป็นละครแบบหนึ่งรับอิทธิพลจากละครแบบยุโรปตัวละครพูดของตนในการดำเนินเรื่องอาจจะพูดเป็นคำก้อยธรรมดาคำกรคำฉันมีการจัดฉากและแต่งกายตามสมัย
ละครเวที
-
ลักษณะของละครเวที
ละครเวทีเป็นรูปแบบหนึ่งของนาฏศิลป์ที่แสดงต่อหน้าผู้ชม มักจะแสดงในห้องเดียวหรือบนเวที การแสดงละครเวทีคือชุดของเหตุการณ์ที่จัดฉากขึ้นภายในฉากเทียมและชั่วคราวที่สร้างขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ในการสื่อสาร การแสดง และภาพลวงตา ประเภทการแสดงละครเวทีที่พบบ่อยที่สุด ได้แก่ ละครเพลง การแสดงละครตะวันตกซึ่งมีขึ้นในสมัยกรีกโบราณ อย่างไรก็ตาม วัฒนธรรมนี้ได้รับอิทธิพลอย่างมากจากวัฒนธรรมตะวันตกดั้งเดิมตั้งแต่ศาสนา เวทมนตร์ ศีลธรรม ไปจนถึงเทคโนยี
-
ละครเวที
ละครเวที คือ ศิลปะการแสดงรูปแบบหนึ่งที่บอกเล่าเรื่องราว สร้างความบันเทิงแก่ผู้ชม และให้ความรู้ในรูปแบบต่างๆ ละครเวทีมีลักษณะเฉพาะของตัวเอง ชุดของกฎและข้อบังคับที่นักแสดงทำตามเพื่อสร้างละครบนเวที อาจเป็นการแสดงคนเดียวหรือหลายคนแสดงพร้อมกันบนเวทีในโรงละคร
จุดเด่นของละครเวทีคือ การสื่อสารระหว่างผู้ชมกับนักแสดง การสื่อสารระหว่างผู้ชมและนักแสดงเกิดขึ้นไปพร้อม ๆ กัน วอลเตอร์ เคอร์ นักวิจารณ์ชาวอเมริกันพูดถึงเรื่องนี้ไว้ว่า “ความสัมพันธ์ระหว่างคนดูกับนักแสดงเช่นนี้ไม่มีในภาพยนตร์ เพราะภาพยนตร์เป็นสิ่งที่สร้างมาสำเร็จรูปแล้ว มันไม่สามารถตอบสนองเราได้ เพราะนักแสดงในภาพยนตร์ไม่สามารถได้ยินเรา รู้สึกถึงตัวตนของเราและไม่ว่าเราจะมีปฏิกิริยาอย่างไรก็ไม่มีผลใด ๆ
-
-
-
ละครวิทยุ
ละครวิทยุ เป็นการแสดงละครโดยใช้เสียงอย่างเดียว เมื่อไม่มีภาพ จึงต้องขึ้นอยู่กับบทสนทนาโต้ตอบ ดนตรีและเอฟเฟ็กซ์เสียงเพื่อช่วยให้ผู้ฟังจินตนาการถึงตัวละครและนิยายออก ละครวิทยุอาจเป็นละครที่เขียนขึ้นเพื่อออกอากาศทางวิทยุโดยเฉพาะ ละครสารคดี งานบันเทิงคดีที่สร้างเป็นละคร หรือละครที่เดิมเขียนขึ้นเป็นละครเวที
-
-
-
-
-
ละครวิทยุเสียงนั้นประกอบไปด้วย 1) เสียงพูด คือเสียงที่ตัวละครเจรจาโต้ตอบกัน หรือแสดงความรู้สึก 2) เสียงเพลง
คือเสียงที่นํามาใช้ในเหตุผลต่างๆ 3) เสียงประกอบ คือเสียงต่างๆ ที่นํามาใช้ประกอบเกี่ยวกับฉาก การเคลื่อนไหว และบอกเหตุการณ์
ต่างๆ ประกอบทั้งสามส่วนเข้าด้วยกันอย่างเหมาะสม ผู้ฟังจะเกิดการคล้ายตาม เชื่อถือ อยากรู้และอยากติดตาม สร้างจินตนาการ
หรือมโนภาพ เกิดความรู้สึกสนุกสนาน รัก สงสาร โศกเศร้า ขบขัน เป็นต้น โดยควรจะเป็นการนําเสนอเรื่องราวที่ใกล้ตัวเกี่ยวกับ
-
ละครร้อง
ประเภท
1.ละครร้องสลับพูด ใช้ผู้หญิงแสดงล้วน ยกเว้นตัวตลกหรือจำอวดที่เรียกว่า "ตลกตามพระ" ซึ่งใช้ผู้ชายแสุดงมีบทเป็นผู้ช่วยพระเอกแสดงบทตลกชบขันจริงๆ เพื่อให้เกิดความสนุกสนาน
2.ละครร้องล้วนๆ ในสมเด็จพระบุรมโอรสาธิราชเจ้าฟ้ามหาวชิราวุธสยามกุฎราชกุมาร(รัชกาลที่6) ละครร้องล้วนๆ ใช้ผู้ชายและผู้หญิงจริงตามเรื่อง
-
-
-
เพลงร้อง
1.ละครร้องสลับพูด ใช้เพลงชั้นเดียวหรือเพลง 2 ชั้น ในขณะที่ตัวละครร้องใช้ซออู้คลอตามเบา ๆ เรียกว่า “ร้องคลอ”
2.ละครร้องล้วน ๆ ใช้เพลงชั้นเดียวหรือเพลง 2 ชั้น ที่มีลำนำทำนองไพเราะ
เรื่องที่แสดง
1.ละครร้องสลับพูด พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์เป็นผู้พระนิพนธ์บท และกำกับการแสดงเรื่องที่แสดงได้แก่ ตุ๊กตายอดรัก ขวดแก้ว เจียระไน
เครือณรงค์ กากี
2.ละครเรื่องล้วนๆ เรื่องที่แสดงคือเรื่องสาวิตรี
การแสดง
1.ละครร้องสลับพูด มีทั้งบทร้อง และบทพูด ยึดถือการร้องเป็นส่วนสำคัญ บทพูดเจรจาสอดแทรกเข้ามาเพื่อทวนบทที่ตัวละครร้องออกมานั้นเอง แม้ตัดบทพูดออกทั้งหมดเหลือแต่บทร้องก็ยังได้เนื้อเรื่องสมบูรณ์ มีลูกคู่คอยร้องรับอยู่ในฉาก ยกเว้นแต่ตอนที่เป็นการเกริ่นเรื่องหรือดำเนินเรื่อง ลูกคู่จะเป็นผู้ร้องทั้งหมด ตัวละครจะทำท่าประกอบตามธรรมชาติมากที่สุดทรงเรียกว่า “ละครกำแบ”
2.ละครร้องล้วน ๆ ตัวละครขับร้องโต้ตอบกัน และเล่าเรื่องเป็นทำนองแทนการพูดดำเนินเรื่องด้วยการร้องเพลงล้วน ๆ ไม่มีบทพูดแทรก มีเพลงหน้าพาทย์ประกอบกิริยาบถของตัวละคร จัดฉากตามท้องเรื่อง ใช้เทคนิคอุปกรณ์แสงสีเสียงเพื่อสร้างบรรยากาศให้สมจริง
บุคคลสำคัญ
ละครร้องกำเนิดขึ้นในตอนปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ละครร้อง ได้ปรับปรุงขึ้นดดยได้รับอิทธิพลจากละครต่างประเทศ ละครร้องนั้นต้น
กำเหนิดมาจากจากแสดงของชาวมลายู เรียกว่า “บังสาวัน” (ได้เคยเล่นถวายรัชกาลที่ 5 ทอดพระเนตรครั้งแรกที่เมืองไทรบุรี และต่อมาละครบังสาวันได้เข้ามาแสดงในกรุงเทพฯ พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ ทรงแก้ไขปรับปรุงเป็นละครร้องเล่นที่โรงละครปรีดาลัย ละครของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์นี่ต่อมาภายหลังได้เปลี่ยนเรียกชื่อว่า “ละครหลวงนฤมิตร” บางครั้งคนยังเรียกว่า “ละครปรีดาลัย” ต่อมาเกิดคณะละครร้องแบบปรีดาลัยขึ้นมากมายเช่นคระปราโมทัย ปราโมทย์เมือง ประเทืองไทย วิไลกรุง ไฉวเวียง เสรีสำเริง บันเทิงไทย และนาครบันเทิง เป็นต้น ละครนี้ได้นิยมกันมาจนถึงสมัยราชกาลที่ 6 และรัชกาลที่ 7
ดนตรี
1.ละครร้องสลับพูด บรรเลงด้วยวงปี่พาทย์ไม้นวมหรืออาจใช้วงมโหรีประกอบ ในกรณีที่ใช้แสดงเรื่องเกี่ยวกับชนชาติอื่น ๆ
2.ละครร้องล้วน ๆ บรรเลงด้วยวงปี่พาทย์ไม้นวม
-
- ผู้อำนวยการแสดง (Producer)
-