Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิวัฒนการของนาฏศิลป์และการละครไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ร.6-ร.9, อ้างอิง,…
วิวัฒนการของนาฏศิลป์และการละครไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ร.6-ร.9
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว(รัชกาลที่6)
รูปแบบการแสดง
โขน
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสนับสนุนศิลปะการแสดงโขนด้วยการพระราชนิพนธ์บท ทรงควบคุมการจัดแสดงและฝึกซ้อมด้วยพระองค์เอง เนื่องจากผู้แสดงล้วนเป็นข้าราชบริพารในพระองค์จึงรู้จักกันในนามโขนสมัครเล่น พระองค์ทรงมีพระราชดำริว่าโขนสมัครเล่นสมควรจะแสดงได้ดีกว่าโขนอาชีพ เนื่องจากมีพื้นฐานการศึกษาที่ดีกว่า โดยเทียบเคียงกับประเทศอังกฤษว่ายกย่องศิลปินให้เป็นขุนนาง
โขนหลวง
โขนบรรดาศักดิ์
โขนเอกชน
โขนเชลยศักดิ์
ละคร
อิทธิพลของประเทศตะวันตกที่มีต่อศิลปะของไทยในสมัยรัชการที่ 6 ซึ่งเห็นได้ชัด โดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงนำแบบอย่างมาเผยแพร่ ทั้งบทละคร วีธีแสดง การวางตัวละครบนเวที การเปล่งเสียงพูด พระองค์ทรงมีบทบาททั้งการพระราชนิพนธ์บทละคร ทรงควบคุมการแสดงและทรงแสดงร่วม นับเป็นการเปลี่ยนแปลงรูปแบบความบันเทิงจากสมัยจารีตที่ชนชั้นนำนิยมดนตรีไทยและละครใน
บทพระราชนิพนธ์
ศกุนตลา
หัวใจนักรบ
ท้าวแสนปม
พระร่วง
เหตุการณ์สำคัญ
พ.ศ. 2454 โปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้งกรมมหรสพ ขึ้นในสังกัดกรมมหาดเล็กหลวง รับผิดชอบราชการด้านดุริยางคศิลป์
พ.ศ. 2457 โปรดเกล้าให้จัดตั้ง “โรงเรียนทหารกระบี่หลวง” ซึ่งมุ่งเน้นฝึกหัดกุลบุตรให้มีความรู้ความชำนาญในวิชานาฏดุริยางคศิลป์
บุคคลสำคัญ
พลเอกเจ้าพระยารามราฆพ
แสดงเป็นพระราม
กรมหมื่นทิวากรวงษ์ประวัติ
แสดงละครพูดและละครพูด
สลับลำ
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธ
คณะละครวังสวนกุหลาบ
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก
ทรงจัดแสดงละครดึกดพบรรพ์
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว(รัชกาลที่7)
บุคคลสำคัญ
เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี : ผู้วางรากฐานการก่อตั้งโรงเรียนนาฏดุริยางค์ศาสตร์
เหตุการณ์สำคัญ
โปรดให้มีการจัดตั้งศิลปากรขึ้นแทนกรมมหรสพที่ถูกยุบไป ข้าราชการศิลปินจึงย้ายสังกัดมาอยู่ในกรมศิลปากร ส่วนศิลปะโขน ละคร ระบ่า รำ ฟ้อน ยังคงปรากฏอยู่ เพื่อเป็นแนวทางในการอนุรักษ์และพัฒนาสืบต่อไป
รูปแบบการแสดง
ละครเพลง
ละครจันทโรภาส
เป็นละครของนายจวงจันทน์ จันทร์คณา (พรานบูรณ์)จะใช้ผู้แสดงที่เป็นทั้งผู้ชายและผู้หญิง แสดงจริงตามบทบาทในเรื่อง
ละครหลวงวิจิตรวาทการ
ละครที่มีเนื้อหาปลุกใจให้ผู้ชมเกิดความรู้สึกรักชาติบ้านเมือง ผู้แสดง มักใช้ผู้แสดงทั้งผู้ชาย และผู้หญิง แสดงตามบทบาทในเรื่องที่กำหนด
ละครรำ
บทพระราชนิพนธ์
เพลงราตรีประดับดาว
เพลงเขมรละออองค์
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล(รัชกาลที่8)
เหตุการณ์สำคัญ
หลวงวิจิตรวาทการ อธิบดีของกรมศิลปาการ ได่ก่อตั้งโรงเรียนนาฏดุริยางคศาสตร์ขึ้นมา เพื่อปกกันไม่ให้ศิลปะทางด้านนาฏศิลป์สูญหายไป
รูปแบบการแสดง
รำวงมาตรฐาน
เป็นการรำหมู่ประกอบด้วยผู้แสดง ๘ คน ท่ารำประดิษฐ์ขึ้นจากท่ารำมาตรฐานในเพลงแม่บท ความสวยงามของการรำอยู่ที่กระบวนท่ารำที่มีลักษณะเฉพาะในแต่ละเพลง และเครื่องแต่งกายไทยสมัยต่าง ๆ รวมทั้งรูปแบบการแสดงในลักษณะการแปรแถวเป็นวงกลม
บุคคลสำคัญ
หลวงวิจิตรวาทการ
บทพระราชิพนธ์
การแสดงละครปลุกใจให้รักชาติ เช่น เรื่องเจ้าหญิงแสนหวี พระเจ้ากรุงธน เลือดสุพรรณ เป็นต้น
พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดช(รัชกาลที่9)
บทพระราชนิพนธ์
กินรีสวีท
ใช้แสดงบัลเลต์ เรื่องมโนราห์
แสงเทียน (Candlelight Blues)
เป็นเพลงพระราชนิพนธ์เพลงแรก ทรงพระราชนิพนธ์ในเดือนเมษายน พ.ศ. 2489
ชะตาชีวิต (H.M. Blues)
เนื้อสะท้อนถึงปรัชญาชีวิตในเรื่อง “ความหวัง”
ยามเย็น (Love at Sundown)
เป็นเพลงพระราชนิพนธ์เพลงที่สอง ทรงพระราชนิพนธ์เมื่อปี พ.ศ.2489 เป็นงานทดลองของพระองค์ในจังหวะฟ็อกซ์ทร็อต
พรปีใหม่
มีพระราชประสงค์ที่จะประทานพรปีใหม่ให้แก่บรรดาพสกนิกรไทยจึงพระราชนิพนธ์เพลงนี้ขึ้นมา
รูปแบบการแสดง
ละครเวที
เป็นรูปแบบของการแสดงที่นำดนตรี เพลง คำพูด และการเต้นรำรวมเข้าด้วยกัน การแสดงเพลงบนเวทีจะเรียกง่ายๆว่า มิวสิคัล(musicals)
โขนพระราชทาน
โขนพระราชทานเริ่มขึ้นเมื่อครั้งเฉลิมฉลองพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงเจริญพระชนมพรรษา 80 พรรษา และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงเจริญพระชนมพรรษา 75 พรรษา สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ จึงมีพระราชเสาวนีย์ให้จัดการแสดงโขนขึ้นทุกปี เป็นที่มาให้คนทั่วไปเรียกชื่อการแสดงโขนนี้ว่า “โขนพระราชทาน” ในปีต่อๆ มา
ละครรำ
เป็นศิลปะการร่ายรำที่เล่นเป็นเรื่องเป็นราว ละครมีเอกลักษณ์ในการแสดงและดำเนินเรื่องด้วยกระบวนการลีลาท่ารำ ใช้การแต่งกายแบบยืนเครื่อง นิยมเล่นในงานพิธีสำคัญ
หนังใหญ่
ตัวหนังใช้แผ่นหนังวัวฉลุเป็นลวดลายตัวละครในเรื่องรามเกียรติ์ พร้อมมีไม้ผูกทาบไว้เพื่อให้ใช้มือจับและยกได้ถนัด
บุคคลสำคัญ
อ.จตุพร รัตนวราหะ ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (นาฏศิลป์-โขน)
เกิดวันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2479 (80 ปี) เป็นศิลปินกรมศิลปากร ผู้ได้รับพระราชทานครอบและรับมอบกระบวนท่ารำเพลงหน้าพาทย์องค์พระพิราพ,ได้กราบทูลสอนโขนถวายสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ และ มีผลงานการแสดงเป็นตัวเอกในเรื่องรามเกียรติ์ บทยักษ์ใหญ่ทศกัณฐ์ เป็นผู้ร่วมก่อตั้งโขนธรรมศาสตร์ ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (นาฏศิลป์-โขน) พ.ศ.2552
พลเอกเปรม ติณสูลานนท์
เกิดเมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2463 ที่ตำบลบ่อยาง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา ท่านเป็นนายกรัฐมนตรี คนที่16แห่งประเทศไทย และเคยดำรงตำแหน่งประทานองคมนตรี พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ประกาศยกย่อง พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ ไว้ในฐานะรัฐบุรุษ ท่านถึงแก่อสัญกรรม เมื่อวันอาทิตย์ที่ 26 พฤษภาคม 2562 สิริอายุ99ปี
สุดจิตต์ พันธ์สังข์
เป็นศิลปินกรมศิลปากร และเป็นผู้เชี่ยวชาญนาฏศิลป์ไทยของกรมศิลปากร มีผลงานที่สำคัญเป็นผู้ที่ได้รับพระราชทานครอบและการต่อกระบวนรำเพลงหน้าพาทย์องค์พระพิราพ ณ ศาลาดุสิดาลัย ปัจจุบันดำรงตำแหน่งผู้เชี่ยวชาญทางด้านนาฏศิลปไทยสาขาโขนยักษ์ สำนักการสังคีต เครื่องราชอิสริยาภรณ์สูงสุดที่ได้รับคือทวิติยาภรณ์ช้างเผือก เหรียญจักพรรดิ์มาลา
เหตุการณ์สำคัญ
นาฏศิลป์และการละคร อยู่ในความรับผิดชอบของรัฐบาล คือ กระทรวงวัฒนธรรม มีการส่งเสริมให้ผู้เชี่ยวชาญนาฏศิลป์ไทยคิดประดิษฐ์ท่ารำชุดใหม่ๆ และการยกย่องให้เป็นศิลปินแห่งชาติ ทรงโปรดเกล้าให้บันทึกภาพยนต์ส่วนพระองค์ บันทึกพิธีพระราชทานครอบพิธีไหว้ครูละครโขนละครและพิธีต่อท่ารำองค์พระพิราพ ในปี พ.ศ.2527
อ้างอิง
http://art-culture-ramavi.blogspot.com/2014/04/6.html
https://www.silpa-mag.com/history/article_83763
https://kingchulalongkorn.car.chula.ac.th/th/article/kingrama6_6
https://sites.google.com/a/kw.ac.th/art_m6/hnwy-thi-1-wiwathnakar-lakhr-thiy/4-smay-ratnkosinthr
เพลงคลื่นกระทบฝั่ง
น.ส.สิราลักษณ์ อนุวิก ม.4/15 เลขที่27
อ้างอิง
สมัยรัตนโกสิทร์ - ศิลปะ(นาฏศิลป์)มัธยมศึกษาปีที่6
https://sites.google.com/a/kw.ac.th/art_m6/hnwy-thi-1-wiwathnakar-lakhr-thiy/4-smay-ratnkosinthr
https://www.bloggang.com/m/viewdiary.php?id=prisanasweetsong&month=10-2009&date=10&group=4&gblog=2
เพลงพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
น.ส.รัญชิดา เดชอัครพล ม.4/15 เลขที่36
อ้างอิง
https://www.shopback.co.th/blog
สืบค้นเมื่อวันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ.2566
https://www.finearts.go.th/premarchives/view/1066
http://www.jjw.ac.th/testart/page1.html
https://prezi.com/hyrrbjsc8_rr/9/
สืบค้นเมื่อวันที่ 19 มิถุนายน พ.ศ.2566
ด.ญ.กัลยกร ช่วยพันธ์ ม.4/15 เลขที่ 28
นายดรณ์ รักขา ชั้น ม.4/15 เลขที่ 4
https://sites.google.com/a/kw.ac.th/art_m6/hnwy-thi-1-wiwathnakar-lakhr-thiy/4-smay-ratnkosinthr
https://athornmusic.blogspot.com/2022/11/blog-post_28.html
https://www.finearts.go.th/performing/view/6954-%E0%B8%A3%E0%B8%B3%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%90%E0%B8%B2%E0%B8%99