Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ละครไทยประเภทละครรำ🕺🏻, 2.ละครนอก, 3.ละครใน, นาย นัควัต สายสอิด เลขที่ 16…
-
2.ละครนอก
:red_flag: ลักษณะการแสดง :มีความมุ่งหมายในการแสดงเรื่องมากกว่าการร่ายรำฉะนั้นในการดำเนินเรื่องจะรวดเร็ว ตลกขบขัน ไม่พิถีพิถันในเรื่องของขนบธรรมเนียมประเพณี เช่น สังข์ทอง
:silhouettes:ตัวละครที่โดดเด่น : สังข์ทองจะเป็นตัวละครที่โดดเด่น เพราะส่วนใหญ่มักจะแสดงละครเรื่องสังข์ทอง
:!:เหตุการณ์สำคัญ: ในสมัยโบราณจะใช้ผู้ชายแสดงล้วน แต่ในสมัยรัชกาลที่ ๒เริ่มมีผู้หญิงแสดงละครนอก แต่เป็นละครหลวง
:tada: ประเพณี วัฒนธรรม : การตอบโต้เจรจา ตัวละครพูดตลกโปกฮา ขบขัน แต่ถ้าอยู่ในบทโศกเศร้าแล้วละก็ ถึงขั้นพูดไปร้องไห้ไปให้เห็นจริงๆ
-
-
3.ละครใน
-
-
:silhouettes:ผู้แสดง:เป็นหญิงฝ่ายใน เดิมห้ามบุคคลภายนอกหัดละครใน จนถึงสมัยรัชกาลที่ ๔ ทรงเลิกข้อห้ามนั้น ต่อมาภายหลังอนุญาตให้ผู้ชายแสดงได้ด้วย
-
:!:ดนตรี: ใช้วงปี่พาทย์เหมือนละครนอก แต่เทียบเสียงไม่เหมือนกัน จะต้องบรรเลงให้เหมาะสมกับเสียงของผู้หญิงที่เรียกว่า "ทางใน"
-
-
📑เรื่องที่แสดง ที่เป็นบทละครบางเรื่อง บางตอน พระนิพนธ์ในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ได้แก่ เรื่องสังข์ทอง คาวีตอนสามหึง อิเหนาตอนไหว้พระ สังข์ศิลป์ชัยภาคต้นกรุงพานชมทวีป รามเกียรติ์ อุณรุฑ มณีพิชัย และอื่นๆ
-
:silhouettes:ผู้แสดง:การแสดง จะผิดแปลกจากละครแบบดั้งเดิม เพราะผู้แสดงต้องร้องเองรำเอง ไม่มีบรรยายกิริยาของตัวละคร ได้มีการปรับปรุงการแสดงความเป็นไปในเนื้อเรื่อง พยายามแสดงให้สมจริงสมจังมากที่สุด มีการตกแต่งฉากและสถานที่ ใช้แสง สี เสียง ประกอบฉาก นับเป็นต้นแบบในการจัดฉากประกอบการแสดง่ของโขน ละครต่อมา การแสดงมักแสดงตอนสั้น ๆ ให้ผู้ชมละครชมแล้วอยากชนต่ออีกhttps://youtu.be/rY_V7xGeyd0
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
การแสดงนาฏศิลป์ไทย จากรายการ ศรีสุขนาฏกรรม ประจำปีพ.ศ. ๒๕๖๓ วัน เสาร์ ที่ ๒๙ และวัน อาทิตย์ ที่ ๓๐ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ ณ โรงละครแห่งชาติ