Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติทางจิตใจในระยะหลังคลอด - Coggle Diagram
ความผิดปกติทางจิตใจในระยะหลังคลอด
การเปลี่ยนแปลงของระดับฮอร์โมนเอสโตรเจนโปรเจสเทอโรนมีผลต่อสารสื่อประสาท เชโรโทนินระดับฮอร์โมนที่ลดต่ำลงจะส่งผลให้ เชโรโทนิน ลดต่ำลงด้วย ระยะหลังคลอด ฮอร์โมนเอสโตรเจนโปรเจสเทอโรนลดต่ำลงทันที จะทำให้มารดารู้สึกเบื่อหน่าย นอนไม่หลับ เป็นสาเหตุการเกิดอารมณ์เศร้า
ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด แบ่งได้ 3 ระดับ
โรคซึมเศร้าหลังคลอด ถือเป็นการเจ็บป่วย ที่ต้องได้รับการรักษาและพบแพทย์
ภาวะเบี่ยงเบนทางอารมณ์ ความคิดการรับรู้ มีพฤติกรรมเปลี่ยนไปจากเดิม ทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
โรคจิตหลังคลอด ถือเป็นภาวะอันตราย และเป็นภาวะฉุกเฉิน ต้องไปพบแพทย์โดยเร็วที่สุด
1.ภาวะเศร้าหลังคลอด ถือว่าเป็นเรื่องปกติ ยังไม่นับว่าเป็นโรค
(postpartum blues หรือ baby blues)อาการชั่วคราวไม่รุนแรง กังวลเรื่องลูกมีอาการอยู่ในช่วงสัปดาห์แรกสามารหายได้เองโดยไม่ต้องรักษา
อาการและอาการแสดง
หวาดระแวง ประสาทหลอน เช่น หูแว่ว พฤติกรรม
ตัวเอง หรือคิดอยากฆ่าตัวตาย หรือทำร้ายบุตร
อารมณ์เปลี่ยนแปลงเร็ว มีความคิดหลงผิด
ทำร้ายตนเองคนรอบข้าง หรือ แม้กระทั่งบุตรของ
รุนแรง ซึมเศร้า หรืออารมณ์ดีแบบไม่สมเหตุสมผล
แปลกประหลาด วุ่นวายผิดแปลก อารมณ์ก้าวร้าว
ผลกระทบต่อภาวะสุขภาพของมารดาและทารก ต่อมารดาหลังคลอดและครอบครัว
ต่อมารดา
มารดาหลังคลอดจะสูญเสียสมรรถภาพทางร่างกาย จากการพักผ่อนไม่เพียงพอ ความเหนื่อยอ่อนเชื่องซึม สูญเสียพลังงาน มีสุขภาพจิตที่ไม่สมบูรณ์
มารดาหลังคลอดมีพฤติกรรม การทำร้ายตัวเอง เช่น ดื่มสุรา สูบบุหรี่ เสพสาร เสพติด หรือการฆ่าตัวตาย
มารดาหลังคลอุดสูญเสียความสนใจ ในชีวิต สมรส โดยเฉพาะเรื่องเพศสัมพันธ์ ทำให้ชีวิต สมรสไม่ราบรื่นอาจเป็นสาเหตุของการหย่าร้าง
ต่อทารก
มารดาหลังคลอดที่มีภาวะซึมเศร้า มักไม่สามารถแสดงบทบาทการเป็น มารดาที่ดีส่งผลต่อทารก มีปัญหาการพัฒนา ด้านสติปัญญา ด้านอารมณ์และพฤติกรรมแสดงออกใน ระยะยาว เช่น
พูดช้า ไม่ตอบสนองด้านอารมณ์
มี ความเครียดมากกว่า
ไม่เล่นกับผู้อื่น