Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การจัดการทรัพยากรเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรแบบมีส่วนร่วม - Coggle…
การจัดการทรัพยากรเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรแบบมีส่วนร่วม
การเคลื่อนไหวในการบริหารจัดการ
สถานการณ์บริหารจัดการฐานทรัพยากร
สถานการณ์ขึ้นอยู่กกับบริบททางสังคมและการเมือง
ปัจจุบันประเทศไทยยังขาดแคลนทรัพยากรธรรมชาติ
การบริหารจัดการทรัพยากรไม่มีประสิทธิภาพ
ทรัพยากรร่วมและการบริหารจัดการ
ทรัพยากรร่วมเป็นทรัพยากรที่มีผู้ใช้ประโยชน์มีการบริหารจัดการใช้ประโยชน์ร่วมกัน
ต้องใช้หลักการบริหารจัดการร่วมที่เกิดจากการตกลงกันของทุกฝ่าย โดยเฉพาะกลุ่มผู้ใช้ทรัพยากร
สิทธิชุมชนและการกระจายอำนาจในการจัดการฯ
สิทธิชุมชน
มีที่มาจากรากฐานจารีตประเพณีท้องถิ่นดั้งเดิม
ให้ความสำคัญกับการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรเพื่อส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตน
เป็นวิถีชีวิตและขบวนการทางสังคมของชุมชนในการจัดการความสัมพันธ์ทางอำนาจระหว่างสมาชิกของชุมชนให้สอดคล้องกับการผลิต ทุกคนสามารถเข้าถึงและมีทางเลือก
ลักษณะสำคัญ
เป็นสิทธิเชิงซ้อน มีสิทธิหลายประเภทอยู่ภายใต้เงื่อนไข
เป็นกระบวนการทางสังคมของชุมชนในการจัดความสัมพันธ์ทางอำนาจระหว่างสมาชิกของชุมชนให้สอดคล้องกับการผลิตที่ทุกคนเข้าถึงได้
เป็นการให้ชุมชนมีสิทธิในการกำหนดอนาคตของตัวเองอย่างเป็นอิสระอย่างแท้จริง
กระบวนการเกิดสิทธิชุมชนในแต่ละประเภท ไม่ได้เกิดจากความสัมพันธ์ในเชิงพันธสัญญา แต่เป็นกฎเกณฑ์ทางสังคม ที่เกิดขึ้นจากกระบวนการภายในชุมชน
กลไกในการบังคับเป็นไปโดยอาศัยวิธีการของแต่ละชุมชน
เป็นอุดมการณ์เพื่อความอยู่รอดของชุมชน
ขึ้นอยู่กับความหลากหลายของฐานทรัพยากรที่ชุมชนใช้ประโยชน์ร่วมกัน
การกระจายอำนาจ
รูปแบบการกระจายอำนาจ
แบ่งอำนาจ
มอบอำนาจ
โอนอำนาจ
แปรรูปกิจการของรัฐให้เอกชนดำเนินการ
แนวคิดเรื่องการกระจายอำนาจ 8 ประการ
การกระจายอำนาจและการรวมศูนย์อำนาจเป็นกระบวนการที่เปลี่ยนแปลง ยืดหยุ่นได้
การกระจายอำนาจมีระดับความเข้มข้น ขึ้นกับสภาพแวดล้อมและสถานการณ์
การกระจายอำนาจไม่ใช่เป็นจุดหมายปลายทางสุดท้ายของกระบวนการประชาธิปไตย
การกระจายอำนาจเป้นการสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน
การกระจายอำนาจและการรวมศุนย์อำนาจจะเกิดทดแทนกันและกันตลอดเวลา
มีสาระสำคัญยิ่งไปกว่าการสร้างความเข้มเเข็งให้กับโครงสร้างและการบริหารงานของ อปท.
ต้องไม่มีผลต่อการเอกลักษณ์ท้องถิ่น
กระจายอำนาจสู่ท้องถิ่นมากขึ้นไม่ได้มีผลให้บทบาทภารกิจของรัฐบาลลดลง
ระดับการกระจายอำนาจ
ระดับสิทธิอำนาจความรับผิดชอบ
ระดับทรัพยากรทางเศรษฐกิจ
การมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรของชุมชน
กรอบคิดของการมีส่วนร่วม
แนวคิดการมีส่วนร่วม
การมีส่วนร่วมต้องควบคู่กับความรู้สึกเป็นเจ้าของ
มีความสนใจและประเด็นร่วม
เป็นสิทธิและเอกสิทธิ์ ประชาชนต้องได้รับการยอมรับ คุ้มครอง ให้เกียรติ
การมีส่วนร่วมทำให้การดำเนินกิจกรรมบรรลุเป้าหมาย
มีข้อตกลงร่วมกัน
ผู้เข้าร่วมต้องมีความเชื่อ ความศรัทธาาร่วมกัน
การมีส่วนร่วมที่เท่าเทียมกันต้องมีการกระจายอำนาจ
หลักการพื้นฐานของการมีส่วนร่วม
อิสรภาพ
เสมอภาค
ประชาธิปไตย
ความสามารถ
การประเมินผลการมีส่วนร่วม
กำหนดเกณฑ์และตัวชี้วัดผล
เก็บรวบรวมข้อมูล
กำหนดวัตถุประสงค์ของการประเมิน
วิเคราะหื สังเคราะห์ สรุปผล เสนอแนะเพื่อปรับปรุง
นำผลการประเมินสู่สาธารณะ
ทำความเข้าใจภาพรวมของกิจกรรมที่ทำร่วมกัน
การพัฒนาของการมีส่วนร่วม
การสร้างการมีส่วนร่วมในโครงการพัฒนาของภาครัฐ
ทำประชาพิจารณ์หรือรับฟังความเห็นของประชาชน
วิเคราะห์ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
สำรวจทัศนคติและปฏิกิริยาตอบสนองต่อประเด็นปัญหาต่าง ๆ
เจรจาต่อรองกับประชาชนกลุ่มที่ได้รับผลกระทบโดยตรง
เปิดโอกาสให้รับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดำเนินการของรัฐ โดยเฉพาะโครงการที่มีผลกระทบต่อประชาชน