Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
มาตรฐานทางเศรษฐศาสตร์ในการจัดการทรัพยากรเพื่อส่งเสริมการเกษตร - Coggle…
มาตรฐานทางเศรษฐศาสตร์ในการจัดการทรัพยากรเพื่อส่งเสริมการเกษตร
ความสัมพันธ์ทางเศรษฐศาสตร์ระหว่างมนุษย์และทรัพยากร
ผลกระทบจากการใช้ทรัพยากร
ผลกระทบด้านสังคม
เกิดผลกระทบต่อสุขภาพผู้บริโภค
เกษตรกรอพยพพครัวเรือนสู่สังคมเมือง
เกิดการแย่งชิงทรัพยากร
ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรนำสู่ความอ่อนแอของชุมขน
ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม
เกิดการชะล้างพังทลายของหน้าดิน
ความหลากหลายทางชีวภาพลดลง
จุลินทรีย์ในดินถูกทำลาย
น้ำใต้ดินเป็นพิษ
เศรษฐศาสตร์และการใช้แนวคิดในการจัดการทรัพยากรอย่างยั่งยืน
การพิจารณาต้นทุนที่แท้จริงจากการใช้ทรัพยากร
การประเมินค่าผลกระทบภายนอกที่เกิดขึ้นเป็นตัวเงิน
การพิจารณาผลกระทบภายนอกต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น
ความคุ้มค่าในการตัดสินใจใช้ทรัพยากร
มนุษย์ในระบบนิเวศ เศรษฐกิจ และสังคม
ด้านเศรษฐกิจ
หากระบบนิเวศสมบูรณ์มาก จนสามารถผลิตผลผลิตทางการเกษตรได้ล้นตลาด ราคาผลผลิตจะตกต่ำ เกษตรจึงต้องเปลี่ยนระบบการผลิตให้เหมาะกับสภาพการตลาด
ปัจจัยที่ต้องคำนึง
กลไกการตลาด
ราคา
อุปสงค์ อุปทาน
ต้นทุนการผลิต
กระแสตลาด
เช่น
ด้านสังคม
ปัจจัยที่ต้องคำนึงถึง
การรวมกลุ่ม องค์กร เครือข่าย
ความสามัคคี
ความรู้
ภูมิปัญญา
วัฒนธรรม ประเพณี
ความคิด ความเชื่อ ศาสนา
กระแสสังคมไทยและสังคมโลก
ระบบสังคมของเกษตรกรที่เข้มแข็ง และทุนสังคมที่มีอยู่ จะเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งเสริมให้ระบบนิเวศที่ดีและระบบเศรษฐกิจที่เป็นอยู่ สามารถสร้างผลประโยชน์ให้เกิดแก่เกษตรกรได้มากขึ้น
ด้านระบบนิเวศ
ปัจจัยที่ต้องคำนึงในการผลิตทางการเกษตร เมื่อพิจารณาถึงระบบนิเวศ เช่น สภาพทรัพยากร ดิน น้ำ ป่าไม้ อุณหภูมิ แสงแดด ปริมาณน้ำฝน ระดับความสูง ความลาดชัน และความหลากหลายทางชีวภาพ
ระบบนิเวศที่อุดมสมบูรณ์จะทำให้มนุษย์เพาะปลูกหรือเลี้ยงสัตว์เพื่อบริโภคหรือส่งขายเข้าสู่ระบบตลาดได้อย่างมีประสิทธิภาพ
หลักการทางเศรษฐศาสตร์ในการจัดการทรัพยากร
การจัดการด้านอุปทานทรัพยากร
เป็นแนวคิดทีใช้ในประเทศกำลังพัฒนาเป็นส่วนมาก
ปัจจัยที่มีผลต่ออุปทานทรัพยากร
เทคโนโลยี
ผลบกระทบภายนอก
ต้นทุนการได้มาซึ่งทรัพยากร
การใช้ทรัพยากรทดแทน
ราคาเสนอขายทรัพยากร
การนำเข้าทรัพยากร
การจัดการด้านอุปสงค์ทรัพยากร
ปัจจัยที่มีผลต่ออุปทานทรัพยากร
ราคาเสนอซื้อทรัพยากร
รายได้
ประชากร
รสนิยม
วิถีชีวิต
มิติทางเศรษฐศาสตร์ในการจัดการ
แนวทางทางเศรษฐศาสตร์ในการจัดการทรัพยากร
แนวทางในการบริโภคทรัพยากร
แนวทางในการแทรกแซงกลไกราคา
แนวทางในการจัดหาทรัพยากร
แนวทางในการสร้างกรอบเงื่อนไขของระบบเศรษฐกิจ
การจัดการนโยบายเศรษฐกิจ
นโยบายเศรษฐกิจหลัก
นโยบายทางการเงิน
เครื่องมือ
การใช้กลไกของระบบธนาคาร สินเชื่อ อัตราดอกเบี้ย
อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ
นโยบายทางการคลัง
เครื่องมือ
การใช้ระบบภาษี
การช่วยเหลืออุดหนุน
ปัจจัยที่มีผลต่อการใช้นโยบายการคลัง
การเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้
ความชัดเจนด้านกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน
การบังคับใช้กฎหมาย
การเปลี่ยนแปลงด้านสถาบัน
การจัดการด้านสถาบัน
การประยุกตืใช้มาตรการทางเศรษฐศาสตร์
ประเภทของเครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
ระดับมหภาค
มาตรการด้านภาษี
ค่าธรรมเนียม
ตลาดการซื้อ-ขายสิทธิ์ในการใช้ประโยชน์
มาตรการทางการเงิน
สิทธิในการใช้ประโยชน์
ระบบมัดจำและการค้ำประกัน
ระดับจุลภาค
ระบบมาตรฐานการผลิตการเกษตรที่ดี
ระบบมาตรฐานสินค้าเกษตร
ระบบมาตรฐาน Codex
ระบบวิเคราะห์และควบคุมจุดวิกฤติและอันตราย
ระบบมาตรฐาน ISO 9000
เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์ที่มีการนำมาใช้ในประเทศไทย
วัตถุประสงค์ของการนำไปใช้
เพื่ออนุรักษ์ทรัพยากระรรมชาติและจัดการปัญหามลพิษ
เพื่อแสวงหาผลประโยชน์หรือรายได้จากการใช้ทรัพยากรฯ
ปัญหาการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์ในการจัดากรทรัพยากรเกษตร
ทัศนคติที่ไม่ถูกต้อง การขาดความรู้ความเข้าใจของภาคการผลิต ทำให้ขาดแรงผลักดันให้มีการนำเครื่องมือฯ ไปใช้อย่างจริงจัง
การที่บทบาทหน้าที่ของภาครัฐส่วนกลางและฝ่ายการเมืองลดลง อาจเป็นปัจจัยทำให้การนำเครื่องมือฯ ไปใช้ จึงไปสามารถพัฒนาได้เร็วเท่าที่ควร
หน่วยงานราชการยังขาดความพร้อมทางวิชาการในการนำเครื่องมือฯ ไปใช้
หากระบบฐานข้อมูลระดับจุลภาาาคของการผลิตไม่มีข้อมูลที่สมบูรณ์เพียงพอ จะทำให้การประยุกต์ใช้เครื่องมือทางเศรษฐศสาตร์ทำได้ยาก