Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เศรษฐกิจโลกาภิวัตน์กับการจัดการทรัพยากรกับการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร,…
เศรษฐกิจโลกาภิวัตน์กับการจัดการทรัพยากรกับการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การเปิดการค้าเสรี และกรอบความตกลงระหว่างประเทศ
รูปแบบ และกรอบความตกลงการค้าเสรีระหว่างประเทศ
รูปแบบ
สหภาพศุลกากร (Customs Union)
พันธมิตรทางเศรษฐกิจ (Closer Economic Partnership: CEP)
เขตการค้าเสรี (Free-trade Area: FTA)
หลักการสำคัญในการพิจารณาจัดทำเขตการค้าเสรี
ระดับความเกื้อกูลกันทางเศรษฐกิจการค้า
ประโยชน์สุทธิที่แต่ละฝ่ายจะได้รับ และต้องสอดคล้องกับเงื่อนไข WTO
สถานะของประเทศคู่ค้า
เช่น
ประชากร และระดับรายได้ต่อหัวของประชากร
ศักยภาพและบทบาททางเศรษฐกิจ
ขนาดและความเติบโตทางเศรษฐกิจ
ผลกระทบจากการเปิดการค้าเสรีและการเข้าร่วมกรอบข้อตกลงระหว่างประเทศของไทย
หากอุตสาหกรรมแรกเริ่มยังไม่สามารถแข่งขันในเวทีโลกอย่างเพียงพอ การทำเขตการค้าเสรี จะทำให้อุตสาหกรรมเหล่านี้ถูกกระทบจากสินค้าราคาถูกจากประเทศคู่ค้า
ประเทศที่มีโครงสร้างการส่งออกสินค้าเหมือนกัน จะเป็นคู่แข่งกันเอง
ประเทศที่เล็กกว่าจะเสียเปรียบทางการค้า เนื่องจากอำนาจต่อรองน้อยกว่า
การนำสินค้าจากประเทศนอกกลุ่มลดลง กระทบต่อประเทศนอกเขตการค้าเสรี
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนและผลกระทบต่อภาคการเกษตรของไทย
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
การเป็นภูมิภาคที่มีการบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก
การเป็นภูมิภาคที่มีการพัฒนาเศรษฐกิจที่เท่าเทียมกัน
การเป็นภูมิภาคที่มีความสามารถในการแข่งขัน
การเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว
พันธกรณีที่ไทยต้องดำเนินการจากการเข้าร่วมประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
เปิดเสรีการค้าบริการ ให้นักลงทุนอาเซียนเข้ามาลงทุนและถือหุ้นได้ในสัดส่วนไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ในสาขาบริการสำคัญ
เปิดเสรีการลงทุน เคลื่อนย้ายแรงงานได้อย่างเสรี
เปิดตลาดสินค้าระหว่างกันมากขึ้น ตามความตกลง ATIGA
ผลกระทบ
เชิงบวก
ไทยเป็นผู้ส่งออกสินค้าเกษตรและอาหารรายใหญ่ที่สุดในอาเซียน
วัตถุดิบในการผลิตและแปรรูปอาหารสำเร้็จรูปราคาถูกลง เพราะไม่มีภาษีนำเข้า
อาเซียนกลายเป็นตลาดขนาดใหญ่ มีทรัพยากรมาก ดึงดูดนักลงทุน
การเคลื่อนย้ายการลงทุน หรือฐานการผลิต ช่วยสร้างงานให้กับแรงงานในอาเซียนมากขึ้น
เชิงลบ
ต้องเผชิญกับภาวะคู่แข่ง และการแข่งขันในตลาดสูงขึ้น
นักลงทุนชาวไทยต้องแข่งขันกับนักลงทุนอาเซียนที่เข้ามาลงทุนในไทยมากขึ้น
อาจมีมาตรการอื่นที่มิใช่ภาษี เช่น มาตรการด้านสุขภาพ มาเป็นข้อกีดกันทางการค้ามากขึ้น
การเตรียมความพร้อม
พัฒนาความร่วมมือระหว่างรัฐ เอกชน และภาคธุรกิจในการร่วมกันพัฒนาบุคลากร โดยสร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องประชาคมอาเซียน
กำหนดมาตรฐานพื้นฐานของคุณภาพสินค้า
ส่งเสริมความร่วมมือกับประเทศอื่นๆ ในเอเชีย
ให้ความสำคัญกับการพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัดตามแนวระเบียงเศรษฐกิจและแนวชายแดน
กฎหมาย และข้อตกลงระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรฯ เพื่อพัฒนาภาคการเกษตร
กฎหมาย และข้อตกลงระหว่างประเทศ
กฎหมายและข้อตกลงเกี่ยวกับมาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช (SPS)
อนุสัญญาอารักพืชระหว่างประเทศ (IPPC)
องคฺการโรคระบาดสัตว์ระหว่างประเทศ (OIE)
คณะกรรมการโครงการมาตรฐานอาหารระหว่างประเทศ (Codex)
กฎหมายและข้อตกลงเกี่ยวกับทรัพยากรพันธุกรรมพืช
สนธิสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยทรัพยากรพันธุกรรมพืชเพื่ออาหารและการเกษตร (ITPGRFA)
อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ (CBD)
อนุสัญญาว่าด้วยการคุ้มครองพันธุ์พืชใหม่ (UPOV)
การดำเนินการของประเทศไทยตามพันธกรณีของกฎหมาย และข้อตกลงระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้อง
ไทยไม่ได้ให้สัตยาบันในการเข้าร่วมเป็นภาคีสมาชิกของ UPOV และ ITPGRFA จึงไม่มีพันธกรณีในการปฏิบัติตามอนุสัญญา และสนธิสัญญานี้
ไทยให้ความสำคัญกับการอนุรักษ์และคุ้มครองทรัพยากรพันธุกรรมพืช มีหน่วยงานรัฐที่ดูแลเรื่องนี้ คือ กรมวิชาการเกษตร (มีการออก พรบ.คุ้มครองพันธุ์พืชมาใช้บังคับ)
ไทยเป็นภาคีสมาชิกในการกำหนดมาตรฐานของ Codex มี มกอช. เป็นห่วยงานกลางในการประสานงานกับ Codex (พิจารณาร่างมาตรฐานอาหารระหว่างประเทศ พิจารณาผลักดัน และส่งเสริมให้การกำหนดมาตรฐานของ Codex สอดคล้องกับมาตรฐานของประเทศไทย ฯลฯ)
สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร ดำเนินการตามพันธกรณีภายใต้ IPPC โดยมี มกอช. เป็นหน่วยงานประสานกับ สำนักเลขาธิการ IPPC
ไทยเป็นสมาชิก OIE โดยมีกรมปศุสัตว์เป็นหน่วยงานกลางในการแจ้งสถานการณ์โรคระบาดสัตว์แก่ OIE
วัตถุประสงค์