Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาความผิดปกติ ของทางเดินหายใจ - Coggle…
บทที่ 8
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาความผิดปกติ
ของทางเดินหายใจ
ความผิดปกติทางเดินหายใจส่วนบน
ต่อมทอนซิลอักเสบ
(Tonsillitis)
สาเหตุ
เชื้อ Beta-hemolytic streptococcus
หรือ Staphylococcus
อาการและอาการแสดง
เจ็บคอมาก, กลืนลำบาก, ไข้สูง 38.3 องศา, หนาวสั่น,
เบื่ออาหาร, มีกลิ่นปาก, อาจมีปวดร้าวที่หู, มีหนอง
การรักษา
ยาปฏิชีวนะ, ยาแก้ปวด
การผ่าตัด
ปัญหาทางการพยาบาล
และการพยาบาล
หลังผ่าตัด 24 ชั่วโมงแรก
เสี่ยงต่อการสำลักเนื่องจากการกลืนผิดปกติ
จัดท่านอนตะแคงป้องกันการสำลัก
ประเมินเฟลกซ์การกลืม
ดูดเสมหะใช้เครื่องดูดแรงดันตํ่า
มีโอกาสเกิดภาวะเลือดออกจากแผลผ่าตัด
แนะนำว่าอาจมีเลือดออกไใน 12-24 ชั่วโมงแรก
ให้บ้วนนํ้าลายลงชามรูปไต ไม่กลืน
แนะนำให้ไม่ขากเสมหะ
รับประทานอาหารอ่อน
ปวดเนื่องจากมีการบาดเจ็บของเนื้อเยื่อจากการผ่าตัด
ดูแลให้ได้รับยาแก้ปวดชนิดนํ้า ก่อนทานอาหาร
หลีกเลี่ยงยาแอสไพริน
ประคบคอด้วยความเย็น/จิบนํ้าเย็น
โพรงอากาศข้างจมูกอักเสบ (Sinusitis)
มีการติดเชื้อทางจมูกผ่านรูเปิด ทำให้เยื่อบุไซนัสบวม อุดตัน
อาการและอาการแสดง
คัดจมูก, นํ้ามูกเหม็น, การับกลิ่น-รสเสียไป,
ตรวจร่างกาย
พบ กดเจ็บ/เคาะเจ็บโพรงอากาศ
การรักษา
ให้ยา Antihistamine หากอักเสบ
มีเสมหะให้ยาขับเสมหะ
ระบายนํ้าหรือหนองในโพรงอากาศข้างจมูก
สวนล้าง
การผ่าตัด FUNCTIONAL ENDOSCOPIC
SINUS SURGERY (FESS)
ปัญหาทางการพยาบาล
และการพยาบาล
หลังผ่าตัด
การหายใจไม่มีประสิทธิภาพเนื่องจากช่องจมูกบวมและอุดตัน
ประเมินสัญญาณชีพ และการมีเสมหะคั่งค้างทางเดินหายใจ
จัดท่านอนศีรษะสูง ลดอาการบวม
กระตุ้นดื่มนํ้าบ่อยๆ ให้ช่องปากชุ่มชื้น
ปวดเนื่องจากเนื่อเยื่อได้รับการบาดเจ็บ
จักท่านอนศีรษะสูง
ประคบเย็น 48 ชม.แรกหลังผ่าตัด
-ดูแลให้ได้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษา
ปัจจัยส่งเริมการเกิด
ภูมิแพ้, nasal polyps, ภูมิคุ้มกันบกพร่อง,
เบาหวาน, สันจมูกคด
เลือดกำเดา (Epistaxis)
มีการฉีกขาดของหลอดเลือดฝอยในเยื่อบุช่องจมูก
สาเหตุ
การบาดเจ็บ, สิ่งแปลกปลอม, การติดเชื้อ,
ความผิดปกติในการแข็งตัวของเลือด, เนื้องอก
การรักษา
บีบจมูก ก้มหน้า ประคบเย็น
เลือดออกผนังกั้นส่วนหน้า-จี้ไฟฟ้า
เลือดออกผนังกั้นส่วน-ผูกหลอดเลือดแดง
ปัญหาทางการพยาบาล
ทางเดินถูกหายใจอุดกั้นเนื่องจากมีเลือดออกทางจมูก
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการรักษา
(อาจมีเลือดออกจากแผลที่ถูกจี้)
การพยาบาล
กรณีรักษาด้วยการจี้ (Cautery)
ให้อ้าปากเวลาไอ จาม ป้องกันการเกิดแรงดัน
ห้ามสั่งนํ้ามูก หรือแกะสะเก็ดแผลอย่างน้อย 1 สัปดาห์
ขี้ผึ้งป้ายบริเวณที่ถูกจี้จนกว่าจะหาย
กรณีรักษาด้วยใส่ตัวกดห้ามเลือด
v/s ทุก 4 ชม. และประเมินเลือดออก
ให้บ้วนเลือดใส่ชามรูปไต ประเมินเลือดที่ออก
แนะนำกลั้วคอด้วยนํ้าเกลือบ่อยๆ แปรงฟันหลังอาหารทุกมื้อ
ประคบเย็น
ริดสีดวงจมูก (Nasal polyps)
มีเนื้องอกของเยื่อบุจมูกและโพรงอากาศข้างจมูก
สาเหตุ
การอักเสบเรื้อรังของจมูกจาก
การเป็นโรคหวัด ภูมิแพ้
อาการและอาการแสดง
คัดจมูก, นํ้ามูกไหลเรื้อรัง, ตรวจพบก้อนสีเทา
ขาวหรือเหลือง ผิวเรียบเป็นมัน
การรักษา
กำจัดริดสีดวงโดยใช้ยากลุ่มสเตียรอยด์พ่นจมูก
เพื่อให้ยุบตัว
กรณีก้อนใหญ่มาก ผ่าตัด FESS
หาสาเหตุและกำจัดสาเหตุร่วมกับกำจัดริดสีดวง
มะเร็งศีรษะและลำคอ
(Head and neck cancer)
อาการและอาการแสดง
มะเร็งโพรงจมูก (Nasopharynx cancer)
ไม่แสดงอาการช่วงแรก (เบื่ออาหาร นํ้าหนักลด)
มะเร็งกล่องเสียง (Laryngeal cancer)
เสียงแหบ > 2 สัปดาห์, ปวดหู, นํ้าหนักลด,
เจ็บคอเมื่อพูด
การรักษา
มะเร็งโพรงจมูก (Nasopharynx cancer)
รังสีรักษาเป็นหลัก
มะเร็งกล่องเสียง (Laryngeal cancer)
การผ่าตัด
การรักษาด้วยรังสี
Chemotherapy
ปัญหาทางการพยาบาล
และการพยาบาล
วิตกกังวลเนื่องจากพร่องความรู้เกี่ยวกับการผ่าตัด
อธิบายวัตถุประสงค์ของการผ่าตัดและสภาพหลังผ่าตัด
โดยเฉพาะการหายใจทาง Stoma และการพูดไม่มีเสียง
อธิบายเกี่ยวกับการฝึกพูดและการใช้กล่องเสียงเทียม
วางแผนเกี่ยวกับการสื่อสาร เช่น การเขียน การใช้ท่าทาง
ภาวะหยุดหายใจขณะหลัง
(Obstructive sleep apnea, OSA)
มีการอุดกั้นในทางเดินหายใจมากจนทำให้
หยุดหายใจเป็นพักๆ ขณะหลับ
การรักษา
เครื่องแรงดันบวก (CPAP)
ทันตอุปกรณ์ (oral appliance)
ผ่าตัดทางเดินหายใจ
อาการ
นอนกรน มีอาการคล้ายหายใจไม่สะดวก
ขณะนอนหลับ ผวาคล้ายสำลักนํ้า
อ่อนเพลีย ง่วงนอนเวลากลางวัน
ปัจจัยเสี่ยง
อายุ, เพศ, ความอ้วน, การสูบบุหรี่
ความผิดปกติทางเดินหายใจส่วนล่าง
วัณโรคปอด (Lung Tuberculosis, TB lung)
สาเหตุ
เชื้อ Mycobacterium tuberculosis
ปัจจัยเสี่ยง
ผู้สัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วยวัณโรค
ผู้ที่มีภูมิคุ้มกันตํ่าจากเบาหวาน HIV
ผู้ที่มีสุขภาพไม่ดี ทุพโภชนาการ
คนไร้บ้าน เด็กและผู้สูงอายุ
อาการ
ไอเรื้อรังเกิน 2 สัปดาห์, ไอแห้งๆหรือมีเสมหะสีเหลือง
เขียวหรือไอปนเลือด, ไข้ตํ่าๆตอนบ่ายหรือเย็น
การรักษา
ด้วยยา
ปัญหาทางการพยาบาล
และการพยาบาล
มีโอกาสแพร่กระจายเชื้อ
ให้ผู้ที่ใกล้ชิดมาพบแพทย์เพื่อตรวจคัดกรองโรค
ระยะ 2 เดือนแรกหลังจากรักษา แยกห้อง แยกทานอาหาร แยกของใช้
หากรักษา ร่วมกับตรวจไม่พบเชื้อในเสมหะ 2 ครั้ง แสดงว่าไม่ได้อยู่ในระยะแพร่กระจาย ไม่ต้องแยก
ฝีในปอด (Lung abscess)
มีการสะสมของหนองในเนื้อปอดทำให้เนื้อเยื่อมีการตายเพิ่มขึ้น
ปัจจัยส่งเสริม
การทำหัตถการช่องปาก, การติดเชื้อในช่องปาก, หลอดลมพอง
อาการและอาการ
ไข้, ไอเสมหะมากมีกลิ่นเหม็น, นั้าหนักลด, อาจพบ Clubbing fingers
ปัญหาทางการพยาบาล
และการพยาบาล
การหายใจไม่เพียงพอเนื่องจากปอดขยายตัวได้ไม่เต็มที่
v/s โดยเฉพาะอุณหภูมิทุก 4 ชม.
ประเมินระดับความรู้สึกตัว การหายใจ อาการเหนื่อยหอบ สีผิว ปลายมือปลายเท้า ทุก 4 ชม.
ฟังเสียงปอดเป็นระยะเมื่อมีอาการเหนื่อยหอบ
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง จัดท่านอนศีรษะสูง 30 องศา
ดูแลให้ยาปฏิชีวนะ, ยาขยายหลอดลม ตามแผนการรักษา
ปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD)
ได้รับสารละคายเคืองเข้าทางเดินหายใจต่อเนื่องทำให้มีการ
อักเสบเรื้อรังในหลอดลม เนื้อปอด และหลอดเลือดปอด
อาการ
หายใจลำบาก, เหนื่อยหอบเมื่อออกแรง, หายใจเสียงวี๊ด
ถ้าอาการกำเริบ -มีเสมหะมาก เหนื่อยขึ้น คือมี Acute exacerbation
การรักษา
แนะนำเลิกสูบบุหรี่
การให้วัคซีน influenza ปีละครั้ง
การฟื้นฟูปอด โดยฝึกหายใจเข้าใช้กระบังลม หายใจออกทางปาก,
การออกกำลังกาย
ให้ออกซิเจนอย่างต่อเนื่อง
ยาพ่นขยายหลอดลม
โรคหอบหืด (Asthma)
มีการอักเสบเรื้อรังของหลอดลม ทำให้มีการอุดกั้นของหลอดลม
สาเหตุ
สารก่อภูมิแพ้, มลพิษ, การติดเชื้อทางเดินหายใจ,
อากาศ, การสูบบุหรี่
อาการ
หายใจไม่ออก, หายใจเสียงวี๊ด โดยเฉพาะช่วงหายใจออก
ปัญหาทางการพยาบาล
และการพยาบาล
แบบแผนการหายใจไม่มีประสิทธิภาพเนื่องจาก
มีการตีบแคบของทางเดินหายใจ
ประเมินการหายใจ ชีพจร ระดับความรู้สึกตัว อาการ
เขียวคลํ้าปลายมือปลายเท้า
จัดท่านอนศีรษะสูง ให้ออกซิเจน NASAL CANNULA 4-5 ลิตรต่อนาที
ดูแลให้ได้รับยาและสารนํ้าตามแผนการรักษา
เตรียมอุปกรณ์ช่วยเหลือเมื่อมีภาวะหายใจล้มเหลว
มะเร็งปอด (lung cancer)
อาการ
ระยะแรกไม่พออาการผิดปกติ
อาการขึ้นอยู่กับตำแหน่าที่พบก้อนมะเร็ง
ก้อนที่ Bronchus - หายใจลำบาก ไข้หนาวสั่น
เสียง Wheeze บริเวณก้อน
ก้อนถุงลมส่วนปลาย - หากเยื่อหุ้มปอดฉีก พบ Plural effusion
การรักษา
ผ่าตัด
ทำ LOBECTOMY/SEGMENTAL RESECTION ใส่ท่อ ICD
ทำ PNEUMONECTOMY ไม่จำเป็นต้องใส่ท่อ ICD
เคมีบำบัด
รังสีรักษา
Target therapy
ปัญหาทางการพยาบาล
และการพยาบาล
ทางเดินหายใจไม่โล่งเนื่องจากการได้ยาระงับความรู้สึก
ดูแลให้เปลี่ยนท่าทุก 2 ชม.
กระตุ้นการไออย่างมีประสิทธิภาพ
กระตุ้นให้บริหารการหายใจโดยใช้ Incentive spirometer
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนตามแผนการรักษา