Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 1 หลักการของระบบฐานข้อมูล - Coggle Diagram
หน่วยที่ 1 หลักการของระบบฐานข้อมูล
ควา่มเป็นมาของการจัดการฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
นิยามและคำศัพท์พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ชนิดและรูปแบบลักษณะของข้อมูล
Basic Types ข้อมูลรูปแบบพื้นฐาน
Number ข้อมูลรูปแบบตัวเลข
Date and Time ข้อมูลรูปแบบวันและเวลา
Yes/No ข้อมูลรูปแบบใช้หรือไม่ใช้
(Booolean)
QuickStart ข้อมูลรูปแบบเริ่มต้นใช้งานด่วน
ความสำคัญของการประมวลผลแบบฐานข้อมูล
รูปแบบของระบบฐานข้อมูล
โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้
ระบบฐานข้อมูล(Database System) หมายถึง โครงสร้างสารสนเทศที่ประกอบด้วยรายละเอียดของข้อมูลที่มีความสัมพันธ์และเกี่ยวข้องกัน ที่จะนำมาใช้ในระบบงานต่างๆร่วมกัน ระบบฐานข้อมูลจึงนับเป็นการจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ โดยผู้ใช้สามารถจัดการกับข้อมูลได้ในลักษณะต่างๆทั้งการเพิ่มข้อมูล การแก้ไข การลบ การค้นหา ตลอดจนการเรียกดูข้อมูลในรูปแบบต่างๆ ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นการประยุกต์นำเอาระบบคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการจัดการฐานข้อมูล และนำฐานข้อมูลผ่านกระบวนการประมวลผลและแสดงผลลัพธ์ในรูปแบบต่างๆ ที่ต้องการ
1.2.1 บิต (Bit) หมายถึง หน่วยของข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด เป็นข้อมูลที่มีการจัดเก็บในลักษณะของเลขฐานสองคือ 0 กับ 1
1.2.2 ไบต์ (Byte) หมายถึง หน่วยของข้อมูลที่เกิดจากการนำบิตมารวมกันเป็นตัวอักขระหรือตัวอักษร (Character)
1.2.3 ฟิลด์ (Field) หมายถึง เขตข้อมูลหรือหน่วยข้อมูลที่ประกอบขึ้นจากไบต์หรือตัวอักขระตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไปมารวมกันแล้วได้ความหมายเป็นคำ เป็นข้อความ หรือของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น ชื่อบุคคล ตำแหน่ง อายุ เป็นต้น
1.2.4 เรคคอร์ด (Record) หมายถึง ระเบียนหรือหน่วยของข้อมูลที่เกิดจากการนำฟิลด์หรือเขตข้อมูลหลายๆเขตข้อมูลมารวมกัน เพื่อเกิดเป็นรายการข้อมูลเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เช่น ข้อมูลของพนักงาน 1 ระเบียน (1 คน) จะประกอบด้วยฟิลด์ รหัสพนักงาน ชื่อ-สกุล ที่อยู่ ตำแหน่ง เงินเดือน เป็นต้น
1.2.5 ไฟล์ (File) หมายถึง แฟ้มข้อมูลหรือหน่วยของข้อมูลที่เกิดจากการนำข้อมูลหลายๆระเบียนที่เป็นเรื่องเดียวกัน เช่น แฟ้มข้อมูลพนักงาน แฟ้มข้อมูลลูกค้า ฯลฯ ส่วนในระบบฐานข้อมูลก็จะนำคำศัพท์ต่างๆที่เกี่ยวข้องที่ควรรู้จักซึ่งจะกล่าวในลำดับต่อไป
1.2.6 เอนทิตี้ (Entity) หมายถึง ชื่อของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เปรียบเสมือนคำถาม อาจได้แก่คน สถานที่สิ่งของ การกระทำ ซึ่งต้องการจักเก็บข้อมูลไว้ เช่น เอนทิตี้พนักงาน เอนทิตี้นักเรียน เป็นต้น บางเอนทิตี้อาจไม่มีความหมายหากขาดเอนทิตี้อื่นในฐานข้อมูล เช่น เอนทิตี้ประวัติของพนักงานจะไม่มีความหมายหากปราศจากเอนทิตี้พนักงาน เพราะไม่ทราบว่าเป็นประวัติของพนักงานของคนใด เช่นนี้แล้วเอนทิตี้ประวัติพนักงานนับเป็นเอนทิตี้ชนิดอ่อนแอ (Weak Entity)
1.2.7 แอททริบิวต์ (Attribute) หมายถึง รายละเอียดข้อมูลที่แสดงลักษณะและคุณสมบัติของแอททริบิวต์หนึ่งๆ เช่น เอนทิตี้สินค้า ประกอบด้วย แอททริบิวต์รหัสสินค้า ประเภทสินค้า ชื่อสินค้า ราคาต่อหน่วย เป็นต้น
โครงสร้างสารสนเทศที่ประกอบขึ้นจากฐานข้อมูลต่างๆ
ที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันและนำมาใช้ในระบบงานต่างๆร่วมกันระบบฐานข้อมูลจึงเป็นการจัดเก็บอย่างเป็นระบบ
สามารถลดความ
ช่วยให้สามารถหลีกเลี่ยง
ช่วยให้สามารถใช้ข้อมูล
ช่วยรักษาความถูกต้องเชื่อถือได้
ช่วยให้ข้อมูลเป็นมาตรฐาน
ช่วยกำหนดระบบความปลอดภัย
ช่วยให้เกิดความเป็นอิสระ
1 ข้อมูลเชิงสัมพันธ์
2 ฐานข้อมูลแบบเครือข่าย
3 ฐานข้อมูลแบบลำดับชั้น
เป็นโปรแกรมฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Reiational Database) ที่นิยมใช้กันมากในปัจจุบันโดยสามารถใช้เก็บและติดตามข้อมูลสำคัญๆ ข้อมูลนอกจากจัดเก็บใว้ในคอมพิวเตอร์ส่วนตัวแล้วยังสามารถตีพิมพ์ลงในเว็บเพื่อให้ผู้อื่นใช้งานฐานข้อมูลของเราผ่านทางเว็บเบราว์เซอร์ได้อีกด้วย