Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บาสสสสสสสสสส, (การบริหารจัดการภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อการจัดการเรียนรู้ของ…
บาสสสสสสสสสส
การบริหารจัดการภูมิปัญญาท้องถิ่น
เพื่อการจัดการเรียนรู้ของสถานศึกษา
การบริหารจัดการ
การบริหาร
พนัส หันนาคินทร์(2549 : 24)
กระบวนการที่ผู้ใช้อำนาจตลอดทรัพยากรต่าง ๆ
บรรจบ เนียมมณี (2553, หน้า 261)
ต้องมีการกระทำ อย่างใดอย่างหนึ่งร่วมกัน
ต้องมีเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ในการกระทำร่วมกันเด่นชัด
บุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป
Williams(1980)
การดำเนินการให้สำเร็จตามเป้าหมาย
การบำรุงรักษาองค์การให้อยู่รอด
การป้องกันองค์กรจากสิ่งแวดล้อมภายนอก
Collins(2009)
กลุ่มของกิจกรรมที่ร่วมกันในองค์การ
การจัดการ
สมยศ นาวีการ (2536: 23)
เป็นกิจกรรมของการบริหาร
ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ (2545: 211)
กระบวนการนำทรัพยากรการบริหารมาใช้ตามขั้นตอนการบริหาร
Bartol and Martin(1998)
การจัดการองค์กร
การชี้นำ
การวางแผน
การควบคุมองค์กร
Rue and Byars(2002)
รูปแบบของงานซึ่งเกี่ยวข้องกับการประสาน
ทรัพยากรต่าง ๆ ขององค์กร
การบริหารจัดการ
ศิริวรรณ เสรีรัตน์และคณะ (2542, หน้า 35)
การบริหารจัดการองค์การ (Organizing)
การชี้นำ (Leading)
การวางแผน (Planning)
การควบคุม (Controlling)
ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ความเป็นมา
ประเวศ วะสี (2536: 21)
เกิดจากการสั่งสมการเรียนรู้เป็นระยะเวลา ยาวนาน มีลักษณะเชื่อมโยงกันไปหมดทุกสาขาวิชา
ยุพา ทรัพย์อุไรรัตน์ (2537 : 21)
เกิดจากการสั่งสมความรู้ประสบการณ์ ที่ได้รับถ่ายทอดจากบุคคลและสถาบันต่าง ๆ โดยมีอิทธิพลของสิ่งแวดล้อมและศาสนา
สุจริต บัวพิมพ์ (2530)
สะสมขึ้นมาจากประสบการณ์ของชีวิต สังคม และในสภาพสิ่งแวดล้อมที่แตกต่างกัน และถ่ายทอดสืบทอดกันมา
ความหมาย
ระพีพรรณ จันทรสา. (2550).
ปัญญา หมายความว่า ความรอบรู้ ความรู้ทั่ว ความฉลาดเกิดแต่การเรียนและคิด
ภูมิปัญญา หมายถึง พื้นความรู้ ความสามารถ
ภูมิ หมายความว่า พื้น ชั้น พื้นเพ
ภูมิปัญญาท้องถิ่น หมายถึง ความสามารถในการใช้พื้นความรู้สร้างสรรค
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2554 (2556 : 872)
พื้นฐานความรู้ความสามารถ
ความสำคัญ
สมจิตร พรหมเทพ (2543)
ภูมิปัญญาท้องถิ่นมีความสำ คัญต่อชาวบ้าน ครอบครัว ชุมชน สังคม
รุ่ง แก้วคง (2543)
ภูมิปัญญาไทยได้ช่วยสร้างชาติให้ เป็นปึกแผ่นสร้างศักดิ์ศรีและเกียรติภูมิแก่คนไทย
นันทสาร สีสลับ (2542)
สร้างความภาคภูมิใจและศักดิ์ศรีเกียรติภูมิแก่คนไทย
สร้างความสมดุลระหว่างคนในสังคมและธรรมชาติได้อย่างยั่งยืน
ภูมิปัญญาไทยช่วยสร้างชาติให้เป็นปึกแผ่น
ลักษณะ
เสรี พงศ์พิศ(2536:145)
ลักษณะที่เป็นนามธรรม เป็นปรัชญาในการดำ เนินชีวิต
ลักษณะที่เป็นรูปธรรม เป็นเรื่องเกี่ยวกับเฉพาะด้านต่าง ๆ
ประเวศ วะสี และคณะ (2536 : 21-23)
มีความเชื่อมโยงหรือบูรณาการสูง
มีความเคารพผู้อาวุโส
ความจำ เพาะเกี่ยวกับท้องถิ่น
ประเภท
อังกูล สมคะเนย์ (2535 )
กลุ่มที่ 2 เรื่องของศิลปะ วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมและประเพณี
กลุ่มที่ 3 เรื่องของการประกอบอาชีพของแต่ละท้องถิ่น
กลุ่มที่ 1 เรื่องเกี่ยวกับ คติ ความคิด ความเชื่อ
กลุ่มที่ 4 เรื่องของหลักปฏิบัติ และเทคโนโลยี
สำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ (2542)
สาขาสวัสดิการ
สาขาศิลปกรรม
สาขากองทุนและธุรกิจชุมชน
สาขาจัดการ
สาขาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สาขาภาษาและวรรณกรรม
สาขาการแพทย์แผนไทย
สาขาศาสนาและประเพณี
สาขาอุตสาหกรรมและหัตถกรรม
รุ่ง แก้งแดง(2543: 206-208)
สาขาการศึกษา
สาขาเกษตรกรรม
แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อการจัดการเรียนรู้ของสถานศึกษา
แนวคิด
หน่วยศึกษานิเทศก์ กรมสามัญศึกษา (2544 : 14)
การจัดแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน
เครือข่ายสื่อและแหล่งการเรียนรู้
เครือข่ายระหว่างสถานศึกษากับชุมชน
เครือข่ายระหว่างบุคลากรภายในสถานศึกษา
เครือข่ายระหว่างสถานศึกษากับสถานศึกษา
เครือข่ายระหว่างสถานศึกษากับบ้าน
การบริหารแหล่งเรียนรู้
PDCA
นิคม ทาแดง กอบกุล ปราบประชาและอำนวย เดชชัยศรี(2545, 18)
ศึกษาสภาพปัจจุบันและวิเคราะห์นโยบายของสถานศึกษา
ดำเนินงานตามแผนที่วางไว้
การวางแผน หรือจัดทำ โครงการตามสภาพ
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
กษมาพร ทองเอื้อ. (2564). การบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
ด้านการพัฒนา การออกแบบและเชื่อมโยงองค์ความรู้จากแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ด้านการเปิดโอกาสให้ผู้
เกี่ยวข้องมีส่วนร่วม
ด้านการกำ กับติดตามและ ส่งเสริมการบริหาร
ด้านการวางแผนจัดการแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ด้านการส่งเสริมการใช้
แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ด้าน การวางแผนกลยุทธ
พลพักษ์ คนหาญ. (2558). รูปแบบการมีส่วนร่วมของโรงเรียนกับชุมชนในการนําภูมิปัญญาท้องถิ่นมาจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
การมีส่วนร่วมในการติดตามและประเมินผลการนำ ภูมิปัญญาท้องถิ่นมาจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
การมีส่วนร่วมปฏิบัติใติ
นการนำ ภูมิปัญญาท้องถิ่นมา จัดการเรียนรู้ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
การมี ส่วนร่วมในการระดมทรัพยากรเพื่อนำ ภูมิปัญญาท้องถิ่น มาจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
การมีส่วนร่วมในการกำ หนดเป้าหมาย จุดเน้นในการนำ ภูมิปัญญาท้องถิ่น มาจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษา
การมีส่วนร่วม ในการวิเคราะห์สถานการณ์ และความต้องการในการนำ ภูมิปัญญาท้องถิ่นมาจัดการเรียนรู้
ทฤษฎี
การบริหารจัดการเชิงระบบ
องค์ประกอบในระบบ
ปัจจัยนำเข้า(Input) ได้แก่ วัสดุ อุปกรณ์ วัตถุดิบ แรงงาน เงินทุน ทรัพยากรต่างๆ รวมไปถึงเวลาและสถานที่
ลที่ได้รับหรือผลผลิต (Output) เป็นผลที่ได้รับจากปัจจัยนำเข้าและกระบวนการทั้งหมด
กระบวนการ (Process)ได้แก่ เทคนิควิธี ขั้นตอนการดำเนินงานต่างๆ ตั้งแต่ต้นจนจบ
องค์ประกอบที่อยู่นอกระบบ
ทรัพยากร ได้แก่ ปัจจัยด้านมนุษย์ เงิน วัสดุ ทรัพยากรธรรมชาติ
สภาพแวดล้อม ได้แก่ ภาวะการตลาด ภาวะเศรษฐกิจ เทคโนโลยี การปกครอง การเมืองและสังคม
ความคาดหวัง ได้แก่ ความคาดหวังของผู้ผลิต ของลูกค้า รัฐบาล ตลอดจนประชาชนทั่วไป
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
ไวท์ (White, 1982)
การมีส่วนร่วม ในการประเมินผล
การมีส่วนร่วมใน การตัดสินใจว่าควรทำอะไร
มีส่วนร่วมในการแบ่งปันผลประโยชน์ที่ได้จากการดำเนินงาน
การมีส่วนร่วมในการเสียสละและพัฒนาตามที่ได้ตัดสินใจ
เคท เดวิส (Keith Davis, 1972)
การร่วมงานที่มีการเกี่ยวข้องกันทางด้านจิตใจและอารมณ์ ผลการเกี่ยวข้องกันทำให้การดำเนินการ บรรลุเป้าหมายของกลุ่ม
บทบาทของสถานศึกษาในการพัฒนาชุมชนเเบบยั่งยืน
ลักษณะของบทบาทสถานศึกษาต่อชุมชน
เชิงอนุรักษ์นิยม (Conservative Role)
การรักษาเเละถ่ายทอดเเนวคิด
เชิงสร้างสรรค์ (Creative Role)
ปรับปรุงเปลี่ยนแปลง
บทบาทหน้าที่ของโรงเรียนต่อชุมชนตามที่กดหมายกำหนด
พัฒนาหลักสูตร
ประสานความร่วมมือ
จัดโอกาสเข้าศึกษาต่อ
ประกันคุณภาพ
ประเมินผู้เรียน
ระดมทรัพยากร เเละบริหารจัดการทรัพยากร
จัดกระบวนการเรียนรู้เเละพัฒนา
บทบาทหน้าที่ของโรงเรียนต่อชุมชน ตามแนวคิดนักวิชาการ
ไพฑูรย์ สินลารัตน์ (2540)
การบูรณาการ
การเป็นแหล่งวิทยาการ
การถ่ายทอด และส่งเสริมวัฒนธรรม
การเป็นศูนย์ประสานงาน
การให้การศึกษา
การพัฒนาชุมชน
บทบาทหน้าที่ของชุมชนต่อโรงเรียน
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ 2542
มีส่วนร่วมจัดการศึกษา
จัดกระบวนการเรียนรู้
การจัดการศึกษา
เป็นคณะกรรมการสถานศึกษา
ส่งบุตรหลานเข้าเรียน
สนับสนุนทรัพยากร
ความสัมพันธ์ของโรงเรียนกับชุมชน : ชูชาติ พ่วงสมจิตร์ (2560)
ดำเนินการ (Do)
การปรับเจตคติ
การสร้างความรู้ความเข้าใจ
ปรับวิธีการดำเนินงาน
การสร้างความเข้าใจและแก้ปัญหา
3 ตรวจสอบ (Check)
การตรวจสอบระหว่างดำเนินการ
การตรวจสอบหลังดำเนินการ
วางแผน (Plan)
กำหนดเป้าหมาย
กำหนดยุทธศาสตร์
ศึกษาสภาพปัจจุบัน
ปรับปรุงแก้ไข (Act)
ปรับปรุงดำเนินการแต่ละขั้นตอน
ปรับปรุงแผนในวงรอบต่อไป
แนวทางสร้างความสัมพันธ์โรงเรียนกับชุมชน : ชูชาติ พ่วงสมจิตร์ (2560)
ความสัมพันธ์ทางอ้อมโรงเรียนกับชุมชน
สรุปความ
ประโยชน์ทั้งฝ่ายโรงเรียนและฝ่ายชุมชน โรงเรียนควรถือเป็นหน้าที่หลัก ควรเป็นฝ่ายรุกมากกว่าฝ่ายตั้งรับ อาจใช้การพัฒนาคุณภาพ PDCA
การปรับปรุงอาคารสถานที่
ปลูกต้นไม้
อำนวยความสะดวก
บริการ น้ำดื่ม ห้องน้ำ
ห้องเรียนที่เพียงพอ
แต่งห้องเรียน
ปรับปรุงพัฒนาบุคลากร
มีไหวพริบ
แต่งกายเหมาะสม
สุภาพอ่อนหวาน
เรียบร้อย
เป็นกันเอง
อดกลั้นต่อปัญหาต่าง ๆ
สัมพันธ์ทางตรงโรงเรียนกับชุมชน
นำชุมชนเข้ามาสู่โรงเรียน
ตั้งสมาคมศิษย์เก่า
เชิญผู้ทรงคุณวุฒิ
สานสัมพันธ์
เชิญประชาชนมาร่วมงาน
เชิญผู้ปกครอง
นำโรงเรียนออกสู่ชุมชน
เยี่ยมผู้ปกครองที่บ้าน
ใช้สถานที่ ภูมิปัญญา เป็นแหล่งเรียนรู้ของโรงเรียน
ประชาสัมพันธ์นโยบายให้ชุมชนทราบ
ให้ความรู้แก่ชุมชน
เข้าไปมีส่วนร่วมในชุมชน
ตัวอย่างบทบาทของสถานศึกษาในการพัฒนาชุมชนแบบยั่งยืนทางการศึกษาของไทย เเละทางการศึกษาของต่างประเทศ
ตัวอย่างบทบาทสถานศึกษาในการพัฒนาชุมชนแบบยั่งยืนทางการศึกษาของไทย
โรงเรียนครอบครัวบ้านห้วยม้าลอย ม. 4 บ.ห้วยม้าลอย ต.หนองสาหร่าย อ.ดอนเจดีย์ จ.สุพรรณบุรี 72170
กิจกรรมสานชุมชนโครงการพัฒนาเยาวชนในชุมชนท้องถิ่น หลักสูตรนักถักทอชุมชน เพื่อพัฒนาเด็ก เยาวชน และครอบครัว
การทำนาปลูกข้าว วิธีการปรับปรุงแปลงนา การนำเอาภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้
ส่งเสริมให้เด็กเรียนรู้ทักษะชีวิต ฝึกปฏิบัติจริง อีกทั้งเป็นการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชนให้มีความยั่งยืน
เป็นพลเมืองที่ดี เป็นที่ยอมรับของสังคม และเป็นเยาวชนที่ดีของประเทศชาติ
ตัวอย่างบทบาทสถานศึกษาในการพัฒนาชุมชนแบบยั่งยืนทางการศึกษาของต่างประเทศ
Seoul Foreign School (SFS) หรือโรงเรียนนานาชาติโซล ตั้งอยู่ที่เขตซอแด กรุงโซล ประเทศเกาหลีใต้
หลักสูตรแบ่งเป็น 3 ระดับ ต้น (3-12 ปี) กลาง (11-16 ปี) ปลาย (16-19 ปี)
เปิดสอนตั้งแต่ระดับ Pre-K ทำการเปิดสอนจนถึงเกรด 12
โรงเรียนต่างประเทศโซล เป็นชุมชนของนักเรียน ผู้ปกครอง พนักงาน และศิษย์เก่า
สมาคมผู้ปกครอง อาสาสมัคร PA หมายถึง ผู้ปกครองทุกคนเป็นสมาชิกของสมาคมผู้ปกครอง PA เป็นส่วนสำคัญของโรงเรียน เน้นการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง
Sports Boosters : ผู้ปกครองช่วยให้นักกีฬาประสบความสำเร็จ
อาสาสมัครช่วยจัดทัศนศึกษา อาหารว่างในห้องเรียน
งานกาล่าชุมชน
อาสาสมัครห้องสมุด วางหนังสือใหม่
งานเลี้ยงอาหารกลางวันขอบคุณครู
สนับสนุนศิลปะ
โซเชียลผู้ปกครอง
หัวคะแนนกองทุนประจำปี
คริสต์มาสบาซาร์
สนับสนุนทีม Admissions
วันภาคสนาม
ทำหน้าที่เป็นทูต
งานแสดงสินค้านานาชาติ
ข้อกำหนดสำหรับการเข้าเรียน (เพื่อสร้างความปลอดภัยให้กับชุมชชน)
กระบวนการตรวจวัดอุณหภูมิหลายขั้นตอน
บังคับสวมหน้ากากตลอดทั้งวัน
ตรวจวัดอุณหภูมิที่จำเป็นในแต่ละวัน
สำนักงานโรงละครของสถานศึกษา
มอบสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับนักเรียน ครู ผู้ปกครอง จัดงานให้กับชุมชน นำชุมชนมารวมกัน เพื่อการเต้นรำ ละคร ดนตรี และกิจกรรมพิเศษในแต่ละปี
การบริการด้านสุขภาพ
สนับสนุน บริการนักเรียน ครู ผู้ปกครอง และเจ้าหน้าที่ เพื่อส่งเสริมสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี
การขนส่งนักเรียน
เป็นเจ้าของรถโดยสารขนาดใหญ่ 25 คัน โดยมีเส้นทางประจำทาง 24 สาย ที่นำนักเรียนมากกว่า 1,000 คน ไปโรงเรียน จากพื้นที่ของกรุงโซล
สรุปและความคิดเห็น
ความร่วมมือจากชุมชนสู่สถาบันการศึกษา และสถาบันการศึกษาสู่ชุมชน บุคลากรต้องมีความเข้าใจอย่างลึกซึ้ง ปรับบทบาทให้สอดคล้องกับชุมชน ซึ่งผู้บริหารสถานศึกษาต้องมีบทบาทในการสร้างกลไกการเรียนรู้ร่วมกับชุมชน โดยความสัมพันธ์ต้องเป็นประโยชน์แก่ทุกฝ่าย ทั้งนักเรียน สถานศึกษา การพัฒนาชุมชน และสังคมอย่างยั่งยืน
ความหมายของบทบาท
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน (2542 : 602)
ทำท่าตามบทการ ทำตามหน้าที่ ที่กำหนดไว้
ศักดิ์ไทย สุรกิจบวร (2545 : 111)
พฤติกรรมสมาชิกในกลุ่ม ที่อยู่ในสภาพนั้นๆ
Tomey (1992, p. 146)
ลักษณะที่เฉพาะของบุคคล
ทฤษฎีของบทบาท
ทฤษฎีบทบาท (Scoot)
ยากที่จะกำหนดชี้เฉพาะ
เกิดการเรียนรู้เเละเปลี่ยนแปลง
ความสัมพันธ์กับพฤติกรรมในการทำงาน
บุคคลอาจมีหลายบทบาท
ความคาดหวังที่เกิดขึ้นในตำแหน่งต่างๆ
ระเบียบ คำเขียน (2546 : 11)
บทบาทตามตำแหน่ง ถูกคาดหวังจากสังคมรอบด้าน
ความหมายของชุมชน
ชุมชนในความ
เเบบดั้งเดิม สังคมขนาดเล็ก
ชุมชนรูปแบบใหม่
2.1 กลุ่มที่ใช้คลื่นวิทยุเป็นสื่อกลาง
2.2 กลุ่มที่ใช้สื่อสังคม
ความสำคัญของชุมชน
ชูชาติ พ่วงสมจิตร (2554)
สร้างกระบวนการเรียนรู้
รากฐานทางวัฒนธรรม เเละภูมิปัญญาท้องถิ่น
สถาบันระดับพื้นฐาน
ถ่วงดุลไม่ให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
ศูนย์กลางที่ยึดเหนี่ยว
จัดระบบความสัมพันธ์
ความหมายเเละบทบาทของสถานในการพัฒนาชุมชน
รุ่งทิพย์ เข็มทิศ
การติดต่อสื่สาร ได้รับความช่วยเหลือจากชุมชน
สมนึก พงษ์สกุล (2558 : 61)
ความร่วมมือจากชุมชนสู่สถาบันการศึกษา
สรุปความ
ความเข้าใจอันดีระหว่างโรงเรียนกับชุมชน
หลักการเเละบทบาทของสถานศึกษาในการพัฒนาชุมชน
สรุปความ
มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับชุมชนอย่างแท้จริง โดยคำนึงถึงประโยชน์ที่ชุมชนจะได้รับจากโรงเรียนมากที่สุด
ประสงค์ ถึงเเสง (2559) หลัก การสร้าง Trust
Appreciate การชื่นชม ยกย่อง
Understanding ศึกษาทำความเข้าใจ
Engage สร้างความผูกพันแน่นแฟ้น
Reach การเข้าถึงชุมชน ใกล้ชิด
ประสงค์ ถึงเเสง (2559) หลัก 3S
Shared Vision การสร้างชุมชนให้มีวิสัยทัศน์
School Based Activities สร้างสถานศึกษาให้้เป็นแหล่งความรู้ ศูนย์กลางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
Synergy การรวมพลังประสานความร่วมมือ
กาญจนา สิงห์มณี
เข้าใจเกี่ยวกับชุมชนที่สถานศึกษาตั้งอยู่อย่างลึกซึ้ง
Stoop and Rafferty
ให้ข้อมูลหรือข่าวสารที่น่าสนใจ
รับข่าวเเละให้ข่าว
กระทำต่อเนื่องติดต่อกัน
การสร้างความสัมพันธ์ควรใช้วิธีหลายๆ ด้าน
หลักการ แนวคิด ทฤษฎีการบริหารความสัมพันธ์ระหว่างสถาบันการศึกษากับชุมชน
แนวคิดและหลักการในการสร้างความสัมพันธ์
แนวคิดการสร้างความสัมพันธ์
สตูฟส์แรฟเฟอร์ตี้ และจอห์นสัน (1961)
ต้องมีทั้งการให้และการรับสารต่อชุมชน
สร้างความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชนจะได้ผลต้องใช้วิธีหลายวิธีในเวลาเดียวกัน
สร้างความสัมพันธ์ด้วยความจริงใจและเข้าใจต่อกัน
ควรสร้างความสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง
โรงเรียนควรให้ข้อมูลที่น่าสนใจง่ายต่อการเข้าใจและสอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน
ฟิวส์โก้ (2009)
สร้างความคุ้นเคยกับชุมชนที่อยู่แวดล้อมโรงเรียน
ศึกษาทำความเข้าใจชุมชน
วางแผนพัฒนาให้ชุมชนร่วมประเมินใช้หลักสูตร ใช้อุปกรณ์และทรัพยากรบุคคลในชุมชน
ทำงานร่วมกับบุคคลหรือองค์กรในชุมชนโดยหลักการประชาธิปไตยอย่างสัมฤทธิ์ผล
ให้ชุมชนได้ประจักษ์ในด้านความสามารถในวิชาชีพและให้ประจักษ์ว่าการศึกษาเป็นกระบวนการที่สร้างความเจริญก้าวหน้า
ชูชาติ พ่วงสมจิตร์ (2560)
ความเข้าใจอันดีต่อกัน ช่วยให้ทราบความเคลื่อนไหวหรือความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นกับทั้งสองฝ่ายช่วยลดและแก้ปัญหาความขัดแย้งระหว่างกัน และช่วยให้เกิดการมีส่วนร่วมที่เป็นไปเพื่อประโยชน์
หลักการในการสร้างความสัมพันธ์
ธีระ รุญเจริญ (2550)
โรงเรียนเป็นของประชาชน
ผู้บริหารการศึกษาควรอยู่ใกล้ชิดกับประชาชน
เปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนรู้เห็นกิจการของโรงเรียน
พบปะผู้ปกครอง หรือเยี่ยมนักเรียนที่บ้าน
โรงเรียนช่วยพัฒนาชาวบ้าน
ควรให้เกียรติ
ไพเราะ กาญจนสิงห์ (2551)
ยึดหลักมนุษยสัมพันธ์
ยึดหลักความจริงใจหรือบริสุทธิ์ใจ
ซื่อสัตย์
คงเส้นคงวา
ยึดความเสียสละ
ยึดความอดทน
ยึดความยืดหยุ่น
ยึดความต่อเนื่อง
ยึดการครอบคลุมเนื้อหา
ยึดความเรียบง่าย
ยึดการสร้างสรรค์
ความสามารถในการปรับตัว
ยึดความเป็นผู้ให้ชุมชนมากกว่าผู้รับจากชุมชน
สมนีก พงษ์สกุล (2556)
ยึดหลักในการปฏิบัติงานด้วยความบริสุทธิ์ใจและตั้งใจอย่างจริงจัง
วาสนา ชูแสง (2557)
ควรมีการศึกษาพื้นฐานของชุมชนนั้นให้เข้าใจ
มีการประชาสัมพันธ์อย่างทั่วถึง
มีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องทั้งใน และนอกโรงเรียน
โรงเรียนควรยอมรับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากคนในชุมชน
รุ่งทิพย์ เข็มทิศ (2559)
การประชาสัมพันธ์โรงเรียน
การให้บริการชุมชน
การเข้าร่วมกิจกรรมของชุมชน
การได้รับความช่วยเหลือสนับสนุนร่วมมือในการพัฒนาชุมชน
การเสริมสร้างความสัมพันธ์กับชุมชนและหน่วยงานอื่น
ประสงค์ ถึงแสง (2559)
3S’s
S –Shared Vision
S- Synergy
S-School Based Activities
หลักการสร้างเชื่อมั่นและไว้วางใจ
การสร้างความสัมพันธ์ชุมชนและโรงเรียนที่ดีมีพื้นฐานมาจากความเชื่อมั่นและไว้วางใจ (Trust)
ความหมาย ความสำคัญ และองค์ประกอบของการสร้างความสัมพันธ์
ความหมายของการสร้างความสัมพันธ์
แฮร์ริส (1963)
การสร้างความสัมพันธ์กับชุมชนในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอน การแจ้งข่าวคราว การเคลื่อนไหวทางการศึกษาให้ชุมชนทราบ แล้วให้ความช่วยเหลือชุมชน ตลอดจนการเสริมสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างโรงเรียนกับชุมชน
ไพเราะ กาญจนสิงห์ (2551)
การทำให้เกิดความเข้าใจอันดี ต่อกันด้วยวิธีการต่าง ๆ เพื่อให้เกิดความร่วมมือระหว่างโรงเรียนกับชุมชน ในการให้ความช่วยเหลือ ส่งเสริมและสนับสนุน การศึกษาให้ก้าวหน้าและมีประสิทธิภาพสูง
วาสนา ชูแสง (2557)
กระบวนการดำเนินงานของโรงเรียน เพื่อสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างโรงเรียนกับชุมชน และเปิดโอกาสให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาโรงเรียนร่วมกำหนดความมุ่งหมาย และนโยบาย ร่วมถึงให้ความร่วมมือในด้านต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นทางด้านการศึกษา ความสนับสนุนทางด้านทรัพยากร กำลังคนและทุนทรัพย์เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของโรงเรียน
รุ่งทิพย์ เข็มทิศ (2559)
การวางแผนดำเนินการบริหารงาน ติดต่อประสานความร่วมมือกับชุมชน ผู้ปกครองนักเรียน บุคคลในชุมชน สร้างความเข้าใจระหว่างชุมชน ผู้บริหาร คณะครู อาจารย์ และสร้างความรู้สึกว่าโรงเรียนเป็นของชุมชนอย่างแท้จริง ส่งเสริมและเปิดโอกาสให้ชุมชนได้เข้ามามีส่วนร่วมกิจกรรมที่โรงเรียนและชุมชนจัดขึ้น เพื่อให้เกิดประโยชน์ในการพัฒนาการศึกษา ทั้งโรงเรียนและชุมชน
ความสำคัญของการสร้างความสัมพันธ์
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
หมวด 1 แนวการจัดการศึกษา กล่าวถึงเจตนารมณ์ที่จะจัดการศึกษา มาตรา 8(2) ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา และมาตรา 29 โดยยืดหลักว่า ให้สถานศึกษาร่วมกับบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องศ์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น ๆ
ไพเราะ กาญจนสิงห์ (2551)
โรงเรียนเป็นแหล่งผลิต พัฒนา อบรมและคัดเลือกสมาชิกที่ดีแก่ชุมชน และให้ชุมชนมีส่วนร่วมสนับสนุนโรงเรียนด้วย
โรงเรียนเป็นแหล่งถ่ายทอดวัฒนธรรมให้แก่ชุมชน
โรงเรียนเป็นศูนย์รวมของวิทยาการต่าง ๆ ที่สามารถทำให้สมาชิกของชุมชน
มีความก้าวหน้าทางการศึกษา
โรงเรียนเป็นศูนย์กลางของชุมชนที่จะช่วยพัฒนาชุมชน เปิดโอกาสให้สมาชิก
มีส่วนร่วมแก้ไข ปัญหา และสร้างภาพพจน์ที่ดีของโรงเรียนรวมทั้งภาพพจน์ที่ดีของครู
วาสนา ชูแสง (2557)
โรงเรียนและชุมชนมีวัตถุประสงค์เดียวกัน คือ การพัฒนาคนให้เป็นคนที่สมบูรณ์ ดังนั้นถ้าเราสร้างความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชนให้เข้าใจตรงกันและให้ชุมชนรู้สึกว่าเป็นส่วนหนึ่งของโรงเรียน และมีความเต็มใจให้ความร่วมมือกับโรงเรียนก็จะทำให้การดำเนินงาน
ต่าง ๆ ของโรงเรียนในทุก ๆ ด้านมีความคล่องตัว
ชูชาติ พ่วงสมจิตร (2560)
ชุมชนคือศูนย์กลางที่ยึดเหนี่ยวทุกคนทุกครอบครัวให้มารวมกันเป็นสถาบันระดับพื้นฐานที่ช่วยสร้างระบบในการจัดการตนเองให้เหมาะสมกับสภาพของชุมชน รวมถึงเป็นศูนย์กลางในการสร้างกระบวนการเรียนรู้ และเอื้อประโยชน์ซึ่งกันและกัน
องค์ประกอบของการสร้างความสัมพันธ์
อรรณพ คุณเศรษฐ (2556)
1.แนวนโยบายของโรงเรียน
ความร่วมมือของบุคลากร
ความพร้อมของโรงเรียน
ความพร้อมของชุมชน
รุ่งทิพย์ เข็มทิศ (2559)
นโยบายของโรงเรียน
ความพร้อมของโรงเรียนและชุมชน
มีความร่วมมือกันทุกฝ่าย
มีกลไกที่ก่อให้เกิดความร่วมมือ
มีการจัดตั้งคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และสมาคมผู้ปกครองและครู
กำหนดบทบาทหน้าที่ร่วมกันในทิศทางที่พึงประสงค์
มีการดำเนินงานให้เกิดความร่วมมือ มีการวางแผนการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชนร่วมกันทั้งสองฝ่าย
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการสร้างความสัมพันธ์
ซิกมันด์ ฟรอยด์ (1947)
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ (Psychoanalysis Theory)
ระดับการรู้ตัวของบุคคล
ระดับที่ 1 จิตสำนึก (Conscious) คือส่วนที่เป็นความรู้สึกและการรู้ตัวอยู่ตลอดเวลา
ระดับที่ 2 จิตใต้สำนึก (Preconscious) เป็นส่วนที่สามารถจะนำขึ้นมาสู่ระดับจิตสำนึกโดยอัตโนมัติ หรือเมื่อมีสิ่งกระตุ้นเพียงล็กน้อย
ระดับที่ 3 จิตไร้สำนึก (Unconscious) เป็นระดับความรู้ตัวที่ลึกที่สุดของบุคคล เป็นสภาพที่บุคคลไม่รู้ตัวและเป็นระดับที่มีปริมาณมาก
โครงสร้างบุคลิกภาพ
ส่วนที่ 2 อีโก้ (The Ego) ทำหน้าที่หาทางออกและทำความพึงพอใจให้กับ "อิด" ในวิถีทางที่เหมาะสม
ส่วนที่ 3 ซุปเปอร์อีโก้ (The Superego) ทำหน้าที่บอกเตือนเกี่ยวกับเรื่องศีลธรรม จรรยาบรรณ วัฒนธรรม ค่านิยมและกฎเกณฑ์ของสังคม
ส่วนที่ 1 อิด (The Id) แสดงออกเมื่อความต้องการทางชีวภาพของบุคคลถูกกักเก็บ เป็นส่วนที่ไม่ได้รับการขัดเกลา ปราศจากความยับยั้งชั่งใจ
มาสโลว์ (1954)
ทฤษฎีความต้องการของพื้นฐานของมนุษย์
ความต้องการด้านร่างกาย
ความต้องการความปลอดภัยและความมั่นคงในชีวิต
ความต้องการทางด้านสังคม
ความต้องการเกียรติยศ ชื่อเสียงและการยกย่องนับถือ
ความต้องการได้รับความสำเร็จและเป็นตัวของตัวเอง
อัลเดอร์เฟอร์ (1972)
ทฤษฎีความต้องการของอัลเดอร์เฟอร์
ความต้องการมีชีวิตอยู่
ความต้องการมีสัมพันธภาพกับคนอื่น
ความต้องการเจริญก้าวหน้า
ชุทซ์ (1960)
ระดับพฤติกรรม
ความต้องการความเป็นพวกพ้อง
ความต้องการมีอำนาจควบคุม
ความต้องการความรักใคร่ชอบพอ
ระดับความรู้สึก
มิติที่ 1 ความสำคัญ
มิติที่ 2 ความสามารถ
มิติที่ 3 ความน่าคบ
ความเข้ากันได้ของบุคคล
เป็นความเข้ากันได้ของบุคคลซึ่งเกิดจากความต้องการที่เหมือนกัน เช่น ชอบเข้าสังคมเหมือนกัน
เป็นความเข้ากันได้ของบุคคลซึ่งเกิดจากความต้องการที่ต่างกันหรือตรงข้ามกัน
กระบวนการสร้างความสัมพันธ์และกลยุทธ์การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสถาบันการศึกษากับชุมชน
กระบวนการพัฒนาความสัมพันธ์ของโรงเรียนกับชุมชน
หลัก 3S’s ในการสร้างความร่วมมือและการสนับสนุนจากชุมชน
S –Shared Vision คือการสร้างให้ชุมชนมีวิสัยทัศน์ร่วมกันกับสถานศึกษา ในการสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้และพัฒนาตนเองของนักเรียน ให้เติบโตอย่างมีคุณภาพ
S- Synergy คือการรวมพลังประสานความร่วมมือกับชุมชนให้ทำงานร่วมกับสถานศึกษา โดย เอาจุดแข็งและความพร้อมของบุคคลและทรัพยากรที่มีอยู่ในชุมชนมาสร้างสรรค์จนเกิดเป็นประโยชน์สูงสุดโดย
มุ่งผลประโยชน์ของส่วนรวมเป็นสำคัญ
S-School Based Activities การสร้างสถานศึกษาให้เป็นแหล่งความรู้ ศูนย์กลางพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของชุมชน โดยการดึงผู้ปกครองและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมพัฒนาคุณภาพสถานศึกษารวมไปถึงการหรือการจัดฝึกสอนฝึกอบรมตามที่ชุมชนต้องการ
แนวทางทั่วไปตามแนวคิดของกระบวนการพัฒนาคุณภาพ 4 ขั้นตอน
ขั้นที่ 1 ขั้นวางแผน (Plan) ประกอบด้วยขั้นตอนย่อย 3 ขั้นตอน คือ 1. ศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหา และความต้องการเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน 2. กำหนดเป้าหมายการพัฒนา (มนตรา ผลศรัทธา และสุเทพ ลิ่มสกุล, 2557) 3. กำหนดยุทธศาสตร์ / แนวทางในการพัฒนาความสัมพันธ์ เป็นขั้นตอนของการกำหนดวิธีการ ดำเนินการเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้ในข้อ 2
ขั้นที่ 2 ขั้นดำเนินการ (Do) เป็นการดำเนินการตามยุทธศาสตร์/แนวทางที่กำหนดไว้ในแต่ละเรื่องที่ เป็นเป้าหมายในการพัฒนา แต่เพื่อให้การดำเนินการประสบความสำเร็จตามเป้าหมาย
ขั้นที่ 3 ขั้นตรวจสอบ (Check) ประกอบด้วยการตรวจสอบ 2 ขั้นตอน คือ 1. การตรวจสอบระหว่างดำเนินการเพื่อนำผลการตรวจสอบมาปรับปรุงการดำเนินการใน แต่ละขั้น 2. การตรวจสอบหลังดำเนินการ เป็นการตรวจสอบหลังจากที่ได้ดำเนินการครบทุกขั้นตอนในการ พัฒนา โดยนำผลการดำเนินงานมาเปรียบเทียบกับเป้าหมายที่กำหนดไว้
ขั้นที่ 4 ขั้นปรับปรุงแก้ไข (Act) เป็นขั้นของการนำผลการตรวจสอบมาใช้ประโยชน์ โดยขั้นปรับปรุง แก้ไขนี้ จำแนกเป็นการปรับปรุงแก้ไข 2 ส่วน คือ 1. การปรับปรุงแก้ไขระหว่างดำเนินการของแต่ละขั้นตอน 2. การปรับปรุงแก้ไขแผนในวงรอบต่อไป เป็นการนำผลการประเมินมาปรับเป้าหมาย และวิธีดำเนินการให้เหมาะสม มีประสิทธิภาพประสิทธิผลสูงขึ้นในวงรอบการพัฒนาใหม่
ความหมาย
กระบวนการ
แนวทางการดำเนินงานเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
อย่างมีขั้นตอน ซึ่งวางไว้อย่างเป็นลำดับ ตั้งแต่ต้นจนจบ ตามจุดประสงค์ที่กำหนดไว้ ช่วยให้การดำเนินการ มีประสิทธิภาพ นำไปสู่ความสำเร็จตามจุดประสงค์และเป้าหมายได้ โดยใช้เวลาและทรัพยากรน้อยที่สุด
สรุป
กระบวนการ คือขั้นตอนการปฏิบัติงาน หรือการทำงาน ตั้งแต่เริ่มต้นจนงานเสร็จ ตามวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้เวลาและทรัพยากรน้อยที่สุด
หน่วยศึกษานิเทศก์ กรมสามัญศึกษา
กระบวนการปฏิบัติหรือกระบวนการทำงานตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุด การปฏิบัติงานบรรลุตามวัตถุประสงค์ อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเป็นที่น่าพอใจ
การสร้างความสัมพันธ์ของโรงเรียนกับชุมชน
สรุป การสร้างความสัมพันธ์ของโรงเรียนกับชุมชน คือ การสร้างความสัมพันธ์อันดีร่วมกันของโรงเรียนและชุมชนเพื่อช่วยกันสนับสนุนการศึกษา เผยแพร่แหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่นร่วมกันวางแผนแนวทางจัดการศึกษาให้ได้ประสิทธิผลตามความต้องการคนในชุมชนตลอดจนการสร้างความสัมพันธ์ของโรงเรียนกับชุมชนเป็นสิ่งที่มีความสำคัญอย่างยิ่งเพราะช่วยให้เกิดความเข้าใจอันดีต่อกัน ช่วยให้ทราบความเคลื่อนไหวหรือความ เปลี่ยน แปลงต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับทั้งสองฝ่าย ช่วยลดและแก้ปัญหาความขัดแย้งระหว่างกันและช่วยให้เกิดการมีส่วนร่วมที่เป็นไปเพื่อประโยชน์
ขวัญใจ ฟุ้มโอ ( 2562 : 18)
โรงเรียนเป็นสถาบันพัฒนาคนเพื่อดำรงชีวิตที่ดีในชุมชนและการศึกษาในโรงเรียนมีความสัมพันธ์กันกับบุคคลในชุมชนเพื่อโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมทำให้ ครู ผู้ปกครอง นักเรียนและประชาชนในชุมชน
นาวิน แกละสมุทร (2562 : 570)
โรงเรียนจะต้องประสานสัมพันธ์กับหน่วยงานต่างๆ เพื่อประโยชน์ของการศึกษา ชุมชนจึงมีบทบาทและความสำคัญในการดูแลส่งเสริมโรงเรียน เพื่อมุ่งหวังที่จะให้สมาชิกในชุมชนได้เข้าศึกษาและเป็นสมาชิกที่ดีมีคุณภาพของชุมชน
ศราวุธ คามวัลย์ และคณะ (2560 : 80)
โรงเรียนเป็นสถาบันหนึ่งของชุมชนที่มีบทบาทสำคัญในการให้การศึกษาแก่ชุมชนเป็นแหล่งเรียนรู้แก่สมาชิกชุมชน
ชูชาติ พ่วงสมจิตร์ (2560 : 13)
บ้าน วัด โรงเรียน หรือที่เรียกว่า “บวร” คือสามเสาหลักคู่สังคมไทย การบริหารงานความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชนช่วยให้เกิดความเข้าใจอันดีต่อกัน ช่วยให้ทราบความเคลื่อนไหวหรือความเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่เกิดขึ้นนกับทั้งสองฝ่ายช่วยลดและแก้ปัญหาความขัดแย้ง
รณกร ไข่นาค และคณะ (2562 : 134)
ได้กล่าวไว้ว่า สถานศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นสถานศึกษาที่มีความใกล้ชิดกับชุมชนมากที่สุดโดยเฉพาะอย่างยิ่งสถานศึกษาที่อยู่ในชนบท ซึ่งการสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างสถานศึกษากับชุมชนจึงเป็นสิ่งสำคัญประการหนึ่งที่จะช่วยให้การดำเนินงานของสถานศึกษามีประสิทธิภาพ
กัญจนพร (2565) การส่งเสริมให้สถานศึกษามีการติดต่อกับชุมชน มีการแลกเปลี่ยนทรัพยากรซึ่งกันและกัน ในทุกๆ ด้าน มีส่วนร่วมในการพัฒนาทางด้านการศึกษาและด้านอื่น ๆ คอยสนับสนุนซึ่งกันและกันเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์
การวางแผนกลยุทธ์
ประเวศน์ มหารัตน์สกุล (2560: 45)
กระบวนการวางแผนงาน ที่ได้มีการตระเตรียมชุดการตัดสินใจสำหรับการกระทำในอนาคตด้วยวิธีทางที่ดีที่สุด ที่มีการเชื่อมโยงเป้าประสงค์อันได้แก่ วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย เข้ากับวิถีทาง (Means) และวิธีการ (Method) ที่จะทำให้บรรลุเป้า ประสงค์ กลยุทธ์เป็นกระบวนการทางความคิดที่ต้องการเอาชนะเกม หรือความพยายามอื่นๆ เกี่ยวกับงานหรือการผลิต โดยการประยุกต์ใช้โอกาสและข้อมูลเชิงลึกไม่ซ้ำกัน เพื่อสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน
บุญใจ ศรีสถิตย์นรากูร (2560: 4)
การวางแผนกลยุทธ์ Strategic Planning) การวางแผนอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ทิศทางการดำเนินงานขององค์กรมีความชัดเจน เหมาะสมกับศักยภาพขององค์กรและบริบทสังคมโลก ในปัจจุบัน มีการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในองค์กร เพื่อให้การดำเนินงานขององค์กรมีความได้เปรียบในการแข่งขัน บรรลุเป้าหมาย ผู้วางแผนกลยุทธ์จำเป็นต้องมีความรู้ มีความชำนาญ โดยทั่วไปบุคคลที่มีหน้าที่วางแผนกลยุทธ์คือ ผู้บริหารระดับสูงและผู้บริหารระดับกลางขององค์กร
สถาบันการศึกษา สถาบันสังคมซึ่งเกี่ยวข้องกับแบบแผนการขัดเกลาและการถ่ายทอดวัฒนธรรม การให้ความรู้ และการฝึกทักษะอาชีพ เพื่อความเป็นสมาชิกที่เหมาะสมของสังคมกลุ่มสังคมในสถาบันการศึกษา ได้แก่ โรงเรียน มหาวิทยาลัย กระทรวง ทบวง กรม ที่ทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา กลุ่มสังคมเหล่านี้จะประกอบไปด้วยตำแหน่ง หรือสถานภาพทางสังคม เช่น ครู อาจารย์
ชุมชน
กลุ่มคนที่มาอยู่รวมกันในเขต หรือบริเวณเดียวกันที่แน่นอน มีวิถีการดำเนินชีวิตคล้ายกัน มีความรู้สึกเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน มีปฎิสัมพันธ์ต่อกันและกัน อยู่ภายใต้กฎระเบียบกฎเกรฑ์เดียวกัน 1.คน (People) 2.ความสนใจร่วมกัน (Common Interest) 3.อาณาบริเวณ (Area) 4.ปะทะสังสรรค์ต่อกัน (Interaction) 5.ความสัมพันธ์ของสมาชิก (Relationship) 6.วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี (Cultural Traditions)
ลักษณะของชุมชน ชนบทและชุมชนเมือง
1.ชุมชนชนบท (Rural Community)
เป็นบริเวณที่ผู้คนอาศัยอยู่กันตามภูมิประเทศ ที่อยู่นอกเขตเมืองโดยมีบ้านเรือน กระจัดกระจายทั่วไป และรวมกันอยู่เป็นหมู่ ซึ่งใช้เป็นศูนย์กลางในการกระทำกิจกรรมร่วมกัน โดยคนในชุมชนมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด ด้วยเหตุนี้ เมื่อกล่าวถึงชุมชนชนบทจึงเป็นที่เข้าใจตรงกันว่า เป็นชุมชนที่อยู่ในบริเวณของตำบลและหมู่บ้าน ซึ่งเป็นหน่วยการปกครองท้องที่หน่วยหนึ่งของรัฐบาล
2.ชุมชนเมือง (Urban Community)
อาณาบริเวณที่มีประชากรอยู่ร่วมกันจำนวนหนึ่ง และต้องมีความหนาแน่นมากพอสมควร เป็นบริเวณที่มีอาคารบ้านเรือนหนาแน่น อยู่ในเขตการปกครองแบบใดแบบหนึ่ง ประชาชนส่วนใหญ่ในชุมชน มีการประกอบอาชีพทีแตกต่างกันออกไป มีความเจริญเป็นศูนย์กลางต่างๆ และรวมทั้งความเสื่อมโทรมต่างๆ อยู่ด้วย เช่น สิ่งแวดล้อมเป็นพิษ เป็นต้น
ชูชาติ พ่วงสมจิตร์ (2554)
ได้ประมวลสรุปความสำคัญของชุมชนไว้ 6 ประการ ดังนี้ 1. ชุมชนเป็นศูนย์กลางที่ยึดเหนี่ยวทุกคนทุกครอบครัวให้มารวมกัน สังเกตได้จากชุมชนในชนบท หลายแห่งที่มีวัดหรือสุเหร่าเป็นศูนย์กลางของชุมชน เป็นแหล่งให้ประชาชนมาชุมนุมร่วมพิธี หรือร่วมกิจกรรมกัน อย่างพร้อมเพรียง 2. ชุมชนเป็นสถาบันระดับพื้นฐานที่ช่วยสร้างระบบในการจัดการตนเองให้เหมาะสมกับสภาพของชุมชน 3.เป็นศูนย์กลางในการสร้างกระบวนการเรียนรู้ของประชาชน 4.เป็นแหล่งสร้างและอนุรักษ์รากฐานทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น 5.เป็นองค์กรสังคมที่ช่วยถ่วงดุลไม่ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วเกินไป 6.เป็นองค์กรท้องถิ่นที่ช่วยจัดระบบความสัมพันธ์ของคนในชุมชนให้เกิดความเหมาะสม
ประโยชน์และความจำเป็นของการสร้างความสัมพันธ์
1.ช่วยให้เกิดความเข้าใจอันดีต่อกัน 2.ช่วยแก้ปัญหาความขัดแย้ง 3.ช่วยให้เกิดการมีส่วนร่วม
บทบาทหน้าที่ของโรงเรียนต่อชุมชนตามที่กฎหมายกำหนด คือ พรบ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 สรุปได้ 7 ประการ ได้แก่ 1) บทบาทในการจัดกระบวนการเรียนรู้ และพัฒนากระบวนการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ 2) บทบาทในการประเมินผู้เรียน 3) บทบาทในการจัดสรรโอกาสการเข้าศึกษาต่อ 4) บทบาทในการพัฒนาหลักสูตร 5) บทบาทในการประสานความร่วมมือกับ ครอบครัว ชุมชน สังคมเพื่อการจัดการศึกษา 6) บทบาทในการประกันคุณภาพการศึกษา และ 7) บทบาทในการ ระดมทรัพยากรและบริหารจัดการทรัพยากรเพื่อการจัดการศึกษา
บทบาทหน้าที่ของโรงเรียนต่อชุมชนตามแนวคิดของนักวิชาการ (สุวัฒน์ มุทธเมธา: 2524; ไพฑูรย์ สินลารัตน์: 2540; ปรีชา คัมภีรปกรณ์: 2540) สรุป บทบาทของสถานศึกษากับชุมชนได้ 6 ประการ ได้แก่ 1) บทบาทในการให้การศึกษาอบรมแก่บุคลากรในชุมชน 2) บทบาทในการถ่ายทอดและส่งเสริมวัฒนธรรมประเพณีของชุมชน 3) บทบาทในการบูรณาการและ สร้างสมดุลให้กับชุมชนและสังคม 4) บทบาทในการเป็นแหล่งวิทยาการและขุมปัญญาของชุมชน 5) บทบาทในการเป็นศูนย์ประสานงานของชุมชนกับหน่วยงาน และ 6) บทบาทในการพัฒนาชุมชนให้ก้าวหน้าอย่างต่อเนื่อง
สมรรถนะการประยุกต์ใช้ความรู้ในการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสถาบันการศึกษากับชุมชน**
สมรรถนะ (Competency)
ความหมาย
คุณลักษณะพื้นฐานของแต่ละบุคคล ซึ่งสามารถทำนายไปถึงผลของการปฏิบัติงานที่เหนือชั้นกว่าคนอื่นได้อย่างมีความหมาย (ณรงค์วิทย์ แสนทอง,2547)
กลุ่มของความรู้ ทักษะและคุณลักษณะ (Attributes)ที่เกี่ยวข้องกันซึ่งมีผลกระทบต่องานหลักของตำแหน่งงานหนึ่งๆ (สุกัญญา รัศมีธรรมโชติ,2547)
บุคลิกลักษณะที่ซ่อนอยู่ภายในปัจเจกบุคคล ซึ่งสามารถ ผลักดันให้ปัจเจกบุคคลนั้น สร้างผลการปฏิบัติงานที่ดี หรือตามเกณฑ์ที่กำหนดในงานที่ตนรับผิดชอบ (แมคเคิลแลนด์,1999)
องค์ประกอบของสมรรถนะ
ความรู้สาขาต่างๆ ที่ได้เรียนมา (Knowledge)
ความชำนาญพิเศษด้านต่างๆ (Skill)
บทบาทที่แสดงออกต่อสังคม (Social role)
ภาพลักษณ์ของบุคคลที่มีต่อตนเอง (Self image)
คุณลักษณะส่วนบุคคล (Trait)
แรงจูงใจ (Motive)
ประเภทของสมรรถนะ
ณรงค์วิทย์ แสนทอง (2547)
สมรรถนะหลัก (Core Competency)
บุคลิกของคนที่สะท้อนให้เห็นถึงความรู้ ทักษะ ทัศนคติ ความเชื่อ และอุปนิสัยของคนในองค์การโดยรวมที่จะช่วยสนับสนุนให้องค์การบรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์ได้
สมรรถนะตามสายงาน (Job Competency)
บุคลิกลักษณะของคนที่สะท้อนให้เห็นถึงความรู้ ทักษะ ทัศนะคติ ความเชื่อ และอุปนิสัยจะช่วยส่งเสริมให้บุคคลนั้นๆ สามารถสร้างผลงานในการปฏิบัติงานตำแหน่งนั้นๆ ได้สูงกว่ามาตรฐาน
สมรรถนะส่วนบุคคล (Personal Competency)
บุคลิกลักษณะของคนที่สะท้อนให้เห็นถึงความรู้ ทักษะ ทัศนะคติ ความเชื่อ และอุปนิสัยที่ทำให้บุคคลนั้นมีความสามารถในการทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งได้โดดเด่นกว่าคนทั่วไป
ปิยะชัย จันทรวงศ์ไพศาล (2549)
สมรรถนะหลัก (Core Competency) หมายถึง ส่วนที่เป็นความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านที่เป็นผลมาจากการผสมผสานระหว่างเทคโนโลยีที่ซับซ้อนและการปฏิบัติงานที่กลมกลืน
สมรรถนะในการบริหารจัดการ (Professional Competency) หมายถึงส่วนที่เป็นความสามารถในการบริหารจัดการ ซึ่งจะแปรผันตามกลยุทธ์ขององค์กร
สมรรถนะในตำแหน่งหน้าที่ (Functional Competency) หมายถึง ส่วนที่เป็นความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่งงานนั้นๆ เพื่อให้มั่นใจว่าบุคลากรมีความรู้ ทักษะและความสามารถเพียงพอ
สมรรถนะการประยุกต์ใช้ความรู้ในการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสถาบันการศึกษากับชุมชน
ความหมายการประยุกต์ใช้ความรู้
การปรับภูมิความรู้ องค์ความรู้ แนวคิด ทฤษฎี หลักการ หลักปฏิบัติ ตัวแบบ แม่แบบ รูปแบบขั้นตอน สิ่งประดิษฐ์ สิ่งของบางอย่างที่นำไปใช้ให้เหมาะสมกับ สถานที่ วันเวลา สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม ศีลธรรม วิถีชีวิตของผู้คนชุมชนท้องถิ่น
คุณลักษณะของผู้บริหาร
การเป็นผู้นำที่มีคุณธรรม จริยธรรม ( Interpersonal and Ethical Leadership)
การเป็นผู้นำด้านการจัดระบบ (Systematic Leadership)
การเป็นผู้นำด้านวิชาการ (Instructional Leadership)
การเป็นผู้นำด้านการบริหารจัดการ (Organizational Leadership)
การเป็นผู้นำด้านสังคมและชุมชน (Community and SocialityLeadership)
การเป็นผู้นำการพัฒนาตนเองในเชิงบริการ (Personal Effectiveness Leadership)
การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสถาบันการศึกษากับชุมชน
ความหมาย
รุ่งทิพย์ เข็มทิศ (2559)
การวางแผนดำเนินการบริหารงาน ติดต่อประสานความร่วมมือกับชุมชน ผู้ปกครองนักเรียน บุคคลในชุมชน สร้างความเข้าใจระหว่างชุมชน ผู้บริหาร คณะครูอาจารย์ และสร้างความรู้สึกว่า โรงเรียนเป็นของชุมชนอย่างแท้จริง
วาสนา ชูแสง (2557)
กระบวนการดำเนินงานของโรงเรียน เพื่อสร้างความ เข้าใจอันดีระหว่างโรงเรียนกับชุมชน และเปิดโอกาสให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาโรงเรียน
รณกร ไข่นาค และคณะ (2562)
สถานศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นสถานศึกษาที่ มีความใกล้ชิดกับชุมชนมากที่สุดโดยเฉพาะอย่างยิ่งสถานศึกษาที่อยู่ในชนบท ซึ่งการสร้าง ความสัมพันธ์อันดีระหว่างสถานศึกษากับชุมชนจึงเป็นสิ่งสำคัญประการหนึ่งที่จะช่วยให้ การดำเนินงานของสถานศึกษามีประสิทธิภาพ
ชูชาติ พ่วงสมจิตร์ (2560)
ความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชนเป็นสิ่งที่มีความสำคัญอย่างยิ่งเพราะช่วยให้เกิดความเข้าใจ อันดีต่อกัน ช่วยให้ทราบความเคลื่อนไหวหรือความ เปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นกับ ทั้งสองฝ่าย ช่วยลดและแก้ปัญหาความขัดแย้งระหว่างกัน
ความสำคัญ
รุ่งทิพย์ เข็มทิศ (2559)
โรงเรียนเป็นหน่วยหนึ่งของชุมชน
เสริมสร้างโรงเรียนและชุมชนให้เหมาะสมกับสภาพแห่งความเปลี่ยนแปลงของสังคมหรือชุมชน
โรงเรียนจะต้องมีส่วนร่วมในการให้ความร่วมมือกัน พัฒนาชุมชน ที่เป็นประโยชน์
เปิดโอกาสให้ชุมชนและโรงเรียนได้มีส่วนร่วมรับรู้และแก้ไขปัญหาซึ่งกันและกัน
เพื่อแก้ปัญหาเกี่ยวกับกลุ่มคนที่เป็นปัญหาต่อการศึกษา
เพื่อปรับปรุงหลักสูตรและการเรียนการสอนตามความต้องการของชุมชน
เพื่อใช้ทรัพยากรของชุมชนให้เป็นประโยชน์
ทำให้โรงเรียนมีความรู้ความเข้าใจชุมชนอีกทั้งในด้านปัญหาของชุมชน
ชูชาติ พ่วงสมจิตร์ (2560)
1.ช่วยให้เกิดความเข้าใจอันดีต่อกัน
2.ช่วยแก้ปัญหาความขัดแย้ง
3.ช่วยให้เกิดการมีส่วนร่วม
บทบาทหน้าที่
อรรณพ คุณเศรษฐ (2556)
การให้บริการชุมชนด้านต่าง ๆ
การรับความช่วยเหลือสนับสนุนจากชุมชน
บทบาทร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
การจัดกิจกรรมที่เอื้อต่อการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน
บทบาทในการประสานความร่วมมือกับครอบครัว ชุมชน สังคมเพื่อการจัดการศึกษา
บทบาทในการประกันคุณภาพการศึกษา
บทบาทในการระดมทรัพยากรและบริหารจัดการทรัพยากรเพื่อการจัดการศึกษา
วิธีการสร้างความสัมพันธ์
ปัญญา วงศ์คุณทรัพย์ (2559)
โรงเรียนจะต้องใช้แผนเป็นเครื่องมือในการบริหารอย่างมีประสิทธิภาพ การบริหารมีลักษณะเป็นการใช้พลังงานร่วมกันของกลุ่มเพื่อปฏิบัติการให้งานบรรลุวัตถุประสงค์ตามแผนที่กำหนดไว้แผนจึงเป็นหนา้ที่ข้อมูลพื้นฐานที่สำคัญขั้นหนึ่งในกระบวนการบริหาร
วราภรณ์ นงนุช (2555)
วิธีการสร้างความสัมพันธ์ของโรงเรียนกับ ชุมชนนั้น โรงเรียนต้องมีการดำเนินการอย่างมีขั้นตอน อาทิเช่น ที่จัดการประชาสัมพันธ์อย่างทั่วถึง และสม่ำเสมอ บริการชุมชน จัดองค์กรช่วยประสานงานของโรงเรียนกับชุมชนสร้างความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันมีความร่วมมือร่วมใจระหว่างโรงเรียนกับชุมชน รวมทั้งรับฟังความคิดเห็นของชุมชนให้มาก
กลยุทธ์และเครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาความสัมพันธ์
การวิเคราะห์ศักยภาพของโรงเรียน
การวิเคราะห์ต้นทุนชุมชน (Community Capital Analysis)
การวิเคราะห์บุคคลที่มีผลต่อความสำเร็จของกิจกรรมในชุมชนตามปัจจัยอำนาจที่มีในชุมชน (PowerActorAnalysis)
การจัดตั้งคณะทำงานและกำหนดบทบาทสมาชิกโดยใช้ตารางหน้าที่ราซี่ (RASI Chart)