Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 9 มาตรการทางเศรษฐศาสตร์ในการจัดการทรัพยากรเพื่อส่งเสริมการเกษตร -…
หน่วยที่ 9 มาตรการทางเศรษฐศาสตร์ในการจัดการทรัพยากรเพื่อส่งเสริมการเกษตร
ความสัมพันธ์ทางเศรษฐศาสตร์ระหว่างมนุษย์และทรัพยากร
มนุษย์ในระบบนิเวศ เศรษฐกิจ และสังคม
สภาพแวตล้อมของมนุษย์ ตั้งแต่การนำทรัพยากรธรรมชาติต่างๆมาสร้างผลผลิตเป็นสินค้าและบริการ หรือต้านอุปทาน (supply) เพื่อตอบสนองความต้องการบริโภคของมนุษย์หรือด้านอุปสงค์(demand)
สภาพแวตล้อมทั้งหมดออกเป็นสามระบบใหญ่ๆ โดยที่มนุษย์ต้องเกี่ยวข้องหรือต้องรวมอยู่ทั้ง 3 ระบบคือ
ระบบนิเวศ (Ecological System)
2.ระบบเศรษฐกิจ (Economic System)
ระบบสังคม (Social System)
การตัดสินใจของเกษตรกร
ความเป็นไปได้ด้านระบบนิเวศ
ความเป็นไปได้ด้านระบบเศรษฐกิจ
ความเป็นไปได้ด้านระบบสังคม
ระบบเศรษฐกิจของภาคเกษตรกรรม
มิติเศรษฐกิจจุลภาค Micro economic aspect
มิติเศรษฐกิจมหภาค Macro economic aspect
การเกษตรและผลกระทบจากการใช้ทรัพยากร
หลักปฏิบัติของกระบวนการผลิต
ปัจจัยการผลิต
กระบวนการผลิต
ผลผลิต
โครงสร้างปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
ทุน
แรงงาน
ที่ดิน
การจัดการ
ทรัพยากรทางการเกษตรในระบบการผลิต
หลักการในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติเพื่อการผลิตทางการเกษตร
ความจำเป็นของทรัพยากรธรรมชาติ
ค่าเช่าของทรัพยากรธรรมชาติ
ผลกระทบจากการใช้ทรัพยากรทางการเกษตร
ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม
ผลกระทบด้านสังคม
เศรษฐศาสตร์และแนวคิดในการใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืน
มิติการพิจารณาความยั่งยืนของการใช้ทรัพยากร
การพิจารณาทางด้านสิ่งแวดล้อม
การพิจารณาด้านเศรษฐศาสตร์
การพิจารณาด้านสังคม
การพิจารณาด้านอื่นๆ
หลักการทางเศรษฐศาสตร์ในการจัดการทรัพยากร
มิติทางเศรษฐศาสตร์ในการจัดการ
การประยุกต์หลักเศรษฐศาสตร์ในการจัดการทรัพยากร
การจัดแบ่งทรัพยากรตามสภาพการคงอยู่
ทรัพยากรที่ไม่สามารถเสริมสร้างขึ้นมาใหม่ได้
ทรัพยากรที่สามารถเสริมสร้างขึ้นมาใหม่ได้
การจัดแบ่งทรัพยากรตามการใช้ประโยชน์
ทรัพยากรที่ใช้แล้วหมดไป
ทรัพยากรที่ใช้แล้วไม่หมดไป
ทรัพยากรที่ใช้แล้วทดแทนได้
แนวทางเศรษฐศาสตร์ในการจัดการทรัพยากร
แนวทางในการจัดหาทรัพยากร
แนวทางในการบริโภคทรัพยากร
แนวทางในการแทรกแซงกลไกราคา
แนวทางในการสรา้งกรอบเงื่อนไขของระบบเศรษฐกิจ
การจัดการด้านอุปทานทรัพยากร
ปัจจัยที่มีผลต่ออุปทานทรัพยากร
ราคาเสนอขายทรัพยากร
ต้นทุนการได้มาซึ่งทรัพยากร
ผลกระทบภานนอก
เทคโนโลยี
การจัดการด้านอุปสงค์ทรัพยากร
ปัจจัยที่มีผลต่ออุปสงค์ทรัพยากร
ราคาเสนอซื้อทรัพยากร
รายได้
ประชากร
รสนิยม
วิถีชีวิต
การจัดการด้านนโยบายเศรษฐกิจ
นัยสำคัญของการใช้นโยบายการคลัง
การใช้ระบบภาษี
การใช้การช่วยเหลืออุดหนุน
ปัจจัยที่มีผลต่อการใช้นโยบายการคลัง
กลไกตลาดและราคา
การบริโภคที่มีเหตุผล
กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินของรัฐ
การจัดการด้านสถาบัน
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการใช้นโยบายการคลัง
สังคมแห่งองค์ความรู้
ความชัดเจนด้านกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน
การบังคับใช้กฏหมาย
การปฏิรูปอย่างเป็นระบบ
สถาบันที่สำคัญทาวงการจัดการทรัพยากร
กฎเกณฑ์ที่เกี่ยวกับการจัดสรรใช้ประโยชน์ทรัพยากร
กฎเกณฑ์ที่เกี่ยวกับการจัดการผลกระทบภานนอกอันเกิดจากการใช้ทรัพยากร
องค์กรและโครงสร้างองค์กร
สถาบันทางความคิดในสังคม
การประยุกต์ใช้มาตรการทางเศรษฐศาสตร์
ประเภทเครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์ ระดับมหภาค
สิทธิในการใช้ประโยชน์
ตลาดการซื้อ-ขาย
มาตรการด้านภาษี
มาตรการทางการเงิน
5
6
ประเภทเครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์ ระดับจุลภาค
มาตรฐานการจัดการเกษตรที่ดี
มาตรบาน CODEC
มาตรฐาน
มาตรฐาน ISO 9000
วิเคราะห์ ควบคุม จุดวิกฤติอันตราย
เครืองมือทางเศรษฐศาสตร์ที่มีการนำมาใช้ในประเทศไทย
ปัญหาการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์