Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
:explode:หน่วยที่ 2 กฎหมายลักษณะนิติกรรม :explode: - Coggle Diagram
:explode:หน่วยที่ 2 กฎหมายลักษณะนิติกรรม :explode:
ความหมายของนิติกรรม :red_flag:
กประมวลผลแพ่งบกฎหใายพาณิชย์มาตรา 149จากมาตรานั้นแยกองค์ประกอบของนิติกรรมได้ 5 ประ การ
1.นิติกรรมเกิดขึ้นด้วยการแสดงเจตนากระทำการของบุคคล
2.ต้องเป็นการกระทำที่ชอบด้วยกฎหมาย
3.ต้องเป็นการกระทำด้วยใจสมัคร
4.ต้องเป็นการกระทำที่มุ่งโยตรงต่อการผูกนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคล
ต้องเป็นการกระทำเพื่อให้เกิดการเคลื่อนไหวในสิทธิ
วัตถุประสงค์ของนิติกรรม :red_flag:
มาตรา 150 บัญญัติว่า “การใดมีวัตถุประสงค์ เป็นการต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมาย เป็นการพ้นวิสัย หรือเป็น การขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน การนั้นเป็นโมฆะ”
มีวัตถุประสงค์เป็นการต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมาย
มีวัตถุประสงค์เป็นการอันพ้นวิสัย
มีวัตถุประสงค์เป็นการขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน
แบบของนิติกรรม แบ่งออกเป็น 4 ประเภท :red_flag:
แบบที่ต้องทําเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่
แบบที่ต้องจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่
แบบที่ต้องทําเป็นหนังสือต่อพนักงานเจ้าหน้าที
แบบที่ต้องทําเป็นหนังสือลงลายมือชื่อคู่กรณีทั้งสองฝ่าย
การแสดงเจตนา มี 4 ลักษณะ :red_flag:
การแสดงเจตนาเพราะถูกฉ้อล้อ
การแสดงเจตนาเพราะถูกข่มขู่
เจตนาลวง
โมฆียกรรม
โมฆียะกรรม คือ นิติกรรมที่ไม่สมบูรณ์แต่ยังใช้ได้จนกว่าจะถูกบอกล้างถ้าไม่บอกล้างโมฆียะกรรมนั้นภายในระยะ เวลาที่กฎหมายกําหนดไว้แล้วก็ทําให้นิติกรรมนั้นสมบูรณ์
นิติกรรมที่มีเงื่อนไขบังคับก่อนและเงื่อนไขบังคับหลาง :red_flag:
นิติกรรมที่มีเงื่อนไขบังคับก่อน นิติกรรมนั้นย่อมเป็นผลต่อเมื่อเงื่อนไขนั้นสําเร็จแล้ว
นิติกรรมที่มีเงื่อนไขบังคับหลัง ความสําเร็จแห่งเงื่อนไขบังคับหลังเป็นผลบังคับให้สิทธิและหน้าที่ของคู่กรณีอันได้มาโดย
นิติกรรมนั้น
เงื่อนไขและเงื่อนไขเวลา :red_flag:
มาตรา 182 บัญญัติว่า “ข้อความใดอันบังคับไว้ให้นิติกรรมเป็นผลหรือสิ้นผลเมื่อมีเหตุการณ์อันไม่แน่นอนว่าจะ เกิดขึ้นหรือไม่ในอนาคตข้อความนั้นเรียกว่า เงื่อนไข” มีลักษณะดังนี้
ต้องเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอนาคต
ต้องเป็นเหตุการณ์ที่ไม่แน่นอนว่าจะเกิดขึ้นหรือไม่
ความไม่สมบูรณ์แห่งเงื่อนไข :red_flag:
1.1.เงื่อนไขสําเร็จแล้วในเวลาทํานิติกรรม (มาตรา 187)
2.เงื่อนไขไม่อาจสําเร็จได้
3.เงื่อนไขไม่ชอบด้วยกฎหมาย ขัดต่อความสงบเรียบร้อย หรือศีลธรรมอันดีของประชาชน
4.เงื่อนไขพ้นวิสัย
5.เงื่อนไขอันจะสําเร็จได้หรือไม่สุดแล้วแต่ใจของฝ่ายลูกหนี้
เงื่อนไขเวลามี2ประเภท :red_flag:
1.เงื่อนไขเวลาเริ่มต้น
2.เงื่อนไขเวลาสิ้นสุด