Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กฎหมายลักษณะนิติกรรม, ความไม่สมบูรณ์แห่งเงื่อนไข, โมฆียกรรม,…
กฎหมายลักษณะนิติกรรม
สมรรถนะการเรียนรู้
- อธิบายความหมายของนิติ
กรรมได้
- บอกวัตถุประสงค์ของนิติ
กรรมได้
- บอกแบบต่าง ๆ ของนิติ
กรรมได้
- บอกบุคคลที่กฎหมายคุ้มครองเกี่ยวกับการแสดงเจตนาได้
- อธิบายข้อแตกต่างระหว่างแสดงเจตนาลวงและนิติกรรมอำพพรารงได้
- อธิบายเรื่องความสำคัญผิดในสิ่งซึ่งเป็นสาระสำคัญแห่งนิติกรรม
- อธิบายเรื่องความสำคัญผิดในคุณสมบัติของบุคคลหรือทรัพย์สินได้
- อธิบายเรื่องของการแสดงเจตนาเพราะถูกกลฉ้อฉลได้
- อธิบายเรื่องการแสดง
เจตนาเพราะถูกข่มขู่ได้
- อธิบายความหมายของโมฆะกรรมและโมฆียะกรรมได้
-
- บอกบุคคลผู้มีสิทธิบอกล้างโมฆียะกรรมได้
- อธิบายผลของการบอกล้างโมฆียะกรรมได้
- อธิบายเรื่องการให้สัตยาบันแก่โมฆียะกรรมได้
- บอกข้อแตกต่างระหว่างเงื่อนไขและเงื่อนเวลได้
วัตถุประสงค์ของนิติกรรม
• มาตรา 150 บัญญัติว่า “การใดมีวัตถุประสงค์ เป็นการต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมาย เป็นการพ้น
วิสัย หรือเป็น การขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน การนั้นเป็นโมฆะ”
-
-
-
-
-
โมฆะกรรม
โมฆะกรรม คือ นิติกรรมที่เสียเปล่าสูญเปล่า ไม่มีผลในกฎหมายแต่อย่างใด สาเหตุที่ทําให้นิติกรรมเป็นโมฆะ มี
ดังนี้
ตัวอย่าง กรณีสัญญาตกเป็นโมฆะ โจทก์ไม่อยู่ในฐานะที่จะประกอบธุรกรรมการซื้อขายเงินตราต่างประเทศกับธนาคารจําเลยได้ จําเลยก็ทราบเรื่องดังกล่าวดี จึงไม่ได้รายงานการทําธุรกรรมซื้อขายเงินตราต่างประเทศให้ธนาคารแห่งประเทศไทยทราบ ดังนั้น นิติกรรม การซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าระหว่างโจทก์จําเลย จึงเป็นสัญญาที่ฝ่าฝืนต่อพระราชบัญญัติควบคุมการแลกเปลี่ยนเงิน พ.ศ.2485 อันทําให้สัญญาดังกล่าวเป็นโมฆะ โจทก์จําเลยไม่อาจนําสัญญาดังกล่าวมาฟ้องร้องบังคับกันได้ (ฎีกาที่ 5661/255)
ผลแห่งโมฆะกรรม
โมฆะกรรมนั้นไม่อาจให้สัตยาบันแก่กันได้ ส่วนโมฆียะกรรมนั้นถือว่ายังใช้ได้อยู่จนกว่าจะถูกบอกล้าง เมื่อบอกล้างแล้วจึงกลายเป็นโมฆะ
-
ถ้าจะต้องคืนทรัพย์สินอันเกิดจากโมฆะกรรม ให้นําบทบัญญัติว่าด้วยลาภมิควรได้มาใช้บังคับ โมฆียะกรรมเมื่อบอกล้างแล้ว กฎหมายให้ผู้เป็นคู่กรณีกลับคืนสู่ฐานะเดิม ถ้าเป็นการพ้นวิสัยจะให้กลับคืนเช่นนั้นได้
ความหมายของนิติกรรม
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 149บัญญัติว่า “นิติกรรม หมายความว่าการใด ๆ อันทําลงโดยชอบด้วยกฎหมายและด้วยใจสมัคร มุ่งโดยตรงต่อการผูกนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคลเพื่อจะก่อเปลี่ยนแปลง โอน สงวนหรือระงับซึ่งสิทธิ”จาก
มาตรานี้พอแยกองค์ประกอบของนิติกรรมได้
5 ประการ คือ
-
-
-
-
-
-
-
-
-
โมฆียกรรม
โมฆียะกรรม คือ นิติกรรมที่ไม่สมบูรณ์แต่ยังใช้ได้จนกว่าจะถูกบอกล้างถ้าไม่บอกล้างโมฆียะกรรมนั้นภายในระยะ เวลาที่กฎหมายกําหนดไว้แล้วก็ทําให้นิติกรรมนั้นสมบูรณ์
-
-
เงื่อนไขและเงื่อนเวลา
เงื่อนไข
มาตรา 182 บัญญัติว่า “ข้อความใดอันบังคับไว้ให้นิติกรรมเป็นผลหรือสิ้นผลเมื่อมีเหตุการณ์อันไม่แน่นอนว่าจะ เกิดขึ้นหรือไม่ในอนาคตข้อความนั้นเรียกว่า เงื่อนไข” มีลักษณะดังนี้
-
-
-
-
เงื่อนเวลามี 2 ประเภท
เงื่อนเวลาเริ่มต้น เงื่อนเวลาเริ่มต้นมีข้อกําหนดให้นิติกรรมเริ่มต้นมีผลให้คู่กรณีทวงถามให้ปฏิบัติตาม นิติกรรมเมื่อถึงเวลาที่กําหนด
-