Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กฎหมายลักษณะนิติกรรม :silhouettes: - Coggle Diagram
กฎหมายลักษณะนิติกรรม :silhouettes:
ความหมายของนิติธรรม :check: ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 149บัญ5 ประการ คือญัติว่า “นิติกรรม หมายความว่าการใด ๆ อันทําลงโดยชอบด้วยกฎหมายและด้วยใจสมัคร มุ่งโดยตรงต่อการผูกนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคลเพื่อจะก่อเปลี่ยนแปลง โอน สงวนหรือระงับซึ่งสิทธิ”จากมาตรานี้พอแยกองค์ประกอบของนิติกรรมได้5 ประการ คือ
ต้องเป็นการกระทําเพื่อให้เกิดการเคลื่อนไหวในสิทธิ
ต้องเป็นการกระทําที่มุ่งโดยตรงต่อการผูกนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคล
นิติกรรมเกิดขึ้นด้วยการแสดงเจตนากระทําการของบุคคล
ต้องเป็นการกระทําด้วยใจสมัครถ้าผู้กระทําไม่สมัครใจกระทํา
ต้องเป็นการกระทําที่ชอบด้วยกฎหมาย
แบบของนิติกรรม แบ่งออกเป็น 4 ประเภท
1.แบบที่ต้องทําเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่
2.แบบที่ต้องจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่
3.แบบที่ต้องทําเป็นหนังสือต่อพนักงานเจ้าหน้าที
4.แบบที่ต้องทําเป็นหนังสือลงลายมือชื่อคู่กรณีทั้งสองฝ่าย
ผลแห่งโมฆะกรรม :warning:
โมฆะกรรม :question: คือ นิติกรรมที่เสียเปล่าสูญเปล่า ไม่มีผลในกฎหมายแต่อย่างใด สาเหตุที่ทําให้นิติกรรมเป็นโมฆะ
โมฆะกรรมนั้นไม่อาจให้สัตยาบันแก่กันได้ ส่วนโมฆียะกรรมนั้นถือว่ายังใช้ได้อยู่จนกว่าจะถูกบอกล้าง เมื่อบอกล้างแล้วจึงกลายเป็นโมฆะ
ผู้มีส่วนได้เสียคนหนึ่งคนใดจะยกความเสียเปล่าแห่งโมฆะกรรมขึ้นกล่าวอ้างก็ได้
โมฆียกรรม :recycle:
โมฆียะกรรม :green_cross: คือ นิติกรรมที่ไม่สมบูรณ์แต่ยังใช้ได้จนกว่าจะถูกบอกล้างถ้าไม่บอกล้างโมฆียะกรรมนั้นภายในระยะ เวลาที่กฎหมายกําหนดไว้แล้วก็ทําให้นิติกรรมนั้นสมบูรณ์
นิติกรรมที่มิได้เป็นไปตามบทบัญญัติของกฎหมายว่าด้วยความสามารถของบุคคล
นิติกรรมที่เกิดขึ้นด้วยเหตุบกพร่องเกี่ยวกับการแสดงเจตนา