Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
จิตเภสัชบำบัด (psychopharmaco therapy) - Coggle Diagram
จิตเภสัชบำบัด (psychopharmaco therapy)
ยารักษาโรคจิต (Antipsychotic drugs)
คุณสมบัติ
รักษา
Schizophrenia
Schizoaffective
Bipolar
ลด
Anxiety
Agitation
Hallucination
Delusion
ลดน้อยลง หรือหมดไป
ทำให้อารมณ์เป็นสุข (euphoria)
ชนิดของยารักษาโรคจิต
ยาต้านโรคจิตกลุ่มเก่า (traditional or typical antipsychotic)
high potency
fluphenazine, haloperidol, trifluoperazine
moderate potency)
perphenazine, zuclopentixol
low potency
chlorpromazine, thioridazine
ผลข้างเคียง
ทำให้เกิด extrapyramidal symptoms (EPS)
ทำให้ง่วงนอน (Haloperidol น้อยกว่า Chlorpromazine)
ทำให้เกิดอาการชักได้หากได้รับยาในปริมาณสูง
ทำให้คอแห้งตาพร่า
อาการ Orthostatic hypotension
. ยาทำให้อารมณ์ทางเพศลดลง
ยาต้านโรคจิตกลุ่มใหม่ (atypical antipsychotic)
clozapine (clozaril), risperidone (risperdol), quetiapine, olanzapine, ziprasidone,
aripiprazole
ผลข้างเคียง
เม็ดเลือดขาวลดลง (agranulocytosis)
ทำให้เกิด EPS ได้ มีประจำเดือนเนื่องจากมี prolactin เพิ่มขึ้น ทำให้
ความต้องการทางเพศลดลง
ยา quetiapine ทำให้เกิดอาการง่วงซึม น้ำหนักตัวเพิ่ม
ความดันโลหิตต่ำจากการเปลี่ยนท่า
การพยาบาลเฉพาะสำหรับผู้ป่วยที่มีผลข้างเคียงจากยารักษาโรคจิต (Antipsychotic drugs)
อาการ extrapyramidal symptoms ควรอธิบายให้ผู้ป่วยและญาติทราบว่า อาการเหล่านี้จะเกิดขึ้นได้ในระยะแรกที่ได้รับยา
อาการ Tardive dyskinesia ควรให้อาหารที่มีแคลลอรี่สูง อาหารอ่อน ให้ผู้ป่วยพักผ่อนให้เพียงพอ และแนะนำให้ผู้ป่วยพูดช้าๆ
อาการง่วง เดินเซ แนะนำผู้ป่วยว่าอาการง่วงนอนจะค่อยๆ หายไป
อาการ Orthostatic hypotension แนะนำผู้ป่วยให้เปลี่ยนท่าเวลาจะลุกยืน หรือนั่งช้าๆ
อาการปากแห้งคอแห้ง แนะนำให้จิบน้ำ อมก้อนน้ำแข็ง
อาการตาพร่า อธิบายว่าอาการจะค่อยๆ หายไปภายในไม่กี่สัปดาห์ แนะนำให้อ่านหนังสือในที่ที่มีแสงสว่างเพียงพอ
อาการท้องผูก แนะนำให้รับประทานที่มีกากใย ผัก ผลไม้ ดื่มน้ำมากๆ
8.ให้คำแนะนำผู้ป่วยว่าไม่ควรดื่มสุรา หรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ร่วมกับยารักษาโรคจิต
ยาคลายกังวล (Anxiolytic drugs)
กลุ่มยา Benzodiazepines (BZD) เป็นยาที่พบการใช้ทั้งเพื่อรักษา
ในทางจิตเวช และในผู้ป่วยโรคทางกาย เช่น Diazepam (Valium), Lorazepam (Ativan), Alprazolam (Xanax),
Domicum (Midazolam), chlordiazepoxide (librium), clonazepam (klonopin), clorazepate
ข้อบ่งใช้
โรคทางจิตเวชที่มีอาการวิตกกังวล อาการที่ได้ผลดีคือ ความวิตกกังวล ความเครียด ตื่นเต้นง่าย และ
พลุ่งพล่าน กระวนกระวาย
ใช้เป็นยานอนหลับ เช่น nitrazepam
ใช้รักษา Delirium tremens ลดอาการสั่น กระวนกระวายและทำให้นอนหลับได้ผลดีมาก
โรคลมชักนิยมใช้ Diazepam เพราะมีฤทธิ์ anticonvulsant สูง
โรคของ Neuromuscular ที่มีการเกร็งของกล้ามเนื้อ เช่น บาดทะยัก
อาการก้าวร้าวและรุนแรง (aggression)
การออกฤทธิ์
เพิ่มประสิทธิผลของสารสื่อประสาท GABA (Gamma-aminobutyric acid) ในสมอง ยับยั้งการทำงานของเซลล์ประสาทในระบบประสาทส่วนกลาง
ผลข้างเคียง
มีน้อยและไม่มีอันตราย ผลข้างเคียงที่สำคัญ คือ ง่วงนอน อ่อนเพลีย หลงลืม เวียนศีรษะ ความดันโลหิตต่ำ ปัสสาวะคั่ง ท้องผูก ต้อกระจก และความคิดช้า
การพึ่งพา (dependence)
เป็นภาวะที่ร่างกายทำงานเป็นปกติเมื่อมีการใช้ยา แต่เมื่อไม่ใช้ยาร่างกายจะ
ทำงานไม่เป็นปกติ การพึ่งพาจะเกิดขึ้นเมื่อใช้ยาเป็นประจำภายใน 2-3 สัปดาห์/เดือน และเมื่อมีการหยุดยาจะเกิด
อาการ กระสับกระส่าย มือสั่น หงุดหงิด นอนไม่หลับ อาเจียน เหงื่อออก และอาจชักได้
การถอนยา (withdrawal)
อาการถอนยามักเกิดขึ้นในบุคคลที่ใช้ยาเป็นประจำ มาเป็นระยะเวลามากกว่า 1 ปี
ขึ้นไป จะแสดงอาการเมื่อมีการหยุดใช้ยาอย่างฉับพลัน ซึ่งเป็นผลจากสมองไม่สามารถทดแทนการขาดหายของ GABA
ได้ทันที จึงทำให้เกิดอาการกระสับกระส่าย มือสั่น หงุดหงิด นอนไม่หลับ คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร เหงื่อออก และ
อาจทำให้เกิดอาการทางจิต เช่น วิตกกังวล ซึมเศร้า สับสน ความจำเสื่อมได้
การทนของร่างกายต่อยา (tolerance)
) การใช้ปริมาณยาเพิ่มขึ้นเพื่อให้ประสิทธิผลของยาคงเดิม สำหรับผู้ป่วย
จิตเวชการใช้ยาเพื่อรักษาโรควิตกกังวลหรืออาการกลัวนั้น แม้จะใช้เป็นเวลานานแต่จะไม่ทำให้เกิดปัญหาที่รุนแรง
การพิจารณาหยุดยา ควรได้รับการพิจารณาจากแพทย์ โดยหากหมดข้อบ่งชี้ของการใช้ยาในกลุ่มนี้เช่น อารมณ์ดีขึ้น ทุเลาจากอาการวิตกกังวลและนอนไม่หลับแล้ว แพทย์จะพิจารณาลดยาลง ครั้งละ 10-25% ทุกครั้งของการ Follow up จนหมด
การพยาบาลเฉพาะและข้อควรระวังสำหรับผู้ที่ได้รับยาคลายกังวล (antianxiety)
การฉีด diazepam เข้าหลอดเลือดดำอาจทำให้เกิด apnea โดยเฉพาะผู้สูงอายุที่มีโรคหัวใจ และโรคปอดร่วมด้วย ดังนั้นการฉีด diazepam เข้าหลอดเลือดดำควรฉีดช้าๆ และ diazepam ไม่ควรฉีดเข้ากล้ามเนื้อเนื่องจากยาไม่ออกฤทธิ์
ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์โดยเฉพาะช่วง 3 เดือนแรก เนื่องจากมีteratogenic effect และในหญิงที่ให้นมบุตรควรหยุดยา หรือ bottle feed แทน
. การใช้ในผู้สูงอายุควรเริ่มในขนาดต่ำ และปรับเพิ่มอย่างช้าๆ ระวังอาการงง สับสน หกล้ม
ระวังการใช้ในผู้ป่วยโรคตับ หากจำเป็นต้องใช้ควรเลือกเป็น lorazepam มากกว่า diazepam
ให้ยาในปริมาณที่น้อยๆ ในรายที่มีความเสี่ยงของการฆ่าตัวตาย ติดตามการใช้ยา และสังเกตอาการของการใช้เกินขนาด เช่น สับสน ง่วงนอน การตอบสนองของร่างกายลดลง ความดันโลหิตต่ำ ให้การช่วยเหลือด้วยการทำให้อาเจียน และล้างท้อง
. การให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้ยาเป็นสิ่งสำคัญ เพราะว่ายาอาจถูกนำไปใช้ในทางที่ผิด หรือไม่ถูกต้องได้