Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ใหญ่ที่มีความผิดปกติในระบบประสาท - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ใหญ่ที่มีความผิดปกติในระบบประสาท
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของระบบประสาท
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการชักและโรคลมชัก (Seizure and Epilepsy)
ประวัติการชัก
อาการก่อนเกิดอาการชัก (preictal symptoms)
อาการนํา (prodromes) อาจเกิดขึ้นเป็นเวลานานหลายนาที ถึงหลายชั่วโมงก่อนมีอาการชัก
อาการเตือน (aura) เป็นอาการแรกของอาการชัก อาการเตือนจะแตกต่างกันตามตําแหน่งของสมองที่ก่อให้เกิดอาการชัก
อาการชัก (seizure symptoms) ลักษณะการชักเป็นเฉพาะที่ (partial seizure) หรือชักทั้งตัว (generalized seizure)
อาการหลังชัก (postictal symptoms) ในกรณีที่ผู้ป่วยหมดสติหรือเหมือนรู้ตัว แต่ไม่สามารถตอบสนองต่อคําถามได้เป็นปกติ
ปัจจัยกระตุ้นอาการชัก (precipitating or trigger factors) ได้แก่ อดนอน การดื่ม หรือหยุดแอลกอฮอล์ แสงกระพริบ เสียงดัง
การตรวจร่างกายเพื่อค้นหาสาเหตุ
ฟังเสียงลิ้นหัวใจรั่วหรือตีบ เสียงฟู่หลอดเลือดแคโรติด คลําการโตของอวัยวะภายใน ตรวจผิวหนัง เพื่อค้นหาโรคที่อาจเกี่ยวข้องกับชัก การตรวจ mental status
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจ CBC, U/A
การตรวจ Electrolytes (Na, Ca, Mg), BUN, creatinine, blood glucose, LFT, สารพิษ
การตรวจ CSF analysis กรณีสงสัย meningitis, encephalitis, HIV
การตรวจคลื่นสมอง EEG in 24 hours
การตรวจทางรังสี CT, MRI brain
การรักษา
การดูแลตามหลักABC(airway,breathing,circulation)
การรักษาสาเหตุชัก
การให้ยากันชัก
การปรับยากันชัก ถ้าผู้ป่วยได้ยาขนาดการรักษาขั้นต่ำแล้วยังคงมีอาการชักซ้ำ
ควรอธิบายแนวทางการรักษา
ภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง (Increased Intracranial Pressure, IICP)
อาการและอาการแสดงของภาวะ IICP
ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนไป
การมองเห็นผิดปกติ
สัญญาณชีพเปลี่ยนแปลง
กล้ามเนื้ออ่อนแรงด้านตรงข้ามกับรอยโรค การเคล่ือนไหวผิดปกติ (decorticate/decerebrate)
ในระยะท้าย รีเฟลกซ์ก้านสมองทั้ง papillary reflex, corneal reflex, gag reflex oculocephalic reflex, oculovestibular reflex เสียไป ซึ่งจะมีการพยากรณ์โรคไม่ดี
การดูแลผู้ป่วยที่ภาวะแรงดันในกะโหลกศีรษะสูงในระยะแรก
การ Resuscitation
การจัดท่าผู้ป่วย
การควบคุมระดับความดันโลหิตและแรงดัน CPP
การทําให้ผู้ป่วยสงบ (sedation)
การควบคุมระดับความดันของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือด
การให้ยากันชัก
รักษาสภาวะร่างกาย (Homeostasis)
การรักษาด้วยยา
การรักษาด้วยการผ่าตัด
การดูแลผู้ป่วย IICP ในระยะยาว มีดังน้ี
• การจัดการภาวะสมองบวม (Cerebral Edema Management)
• การดูแลเพื่อคงการกําซาบของสมอง (Cerebral Perfusion Promotion)
• การดูแลในทางเดินหายใจ (Airway Management)
• การป้องกันแผลกดทับ (Pressure Ulcer Prevention)
• การดูแลด้านโภชนาการ (Nutrition Therapy)
• การออกกําลังกายและกายภาพบําบัด (Exercise Therapy)
การบาดเจ็บที่ศีรษะ (Head injury)
ระดับความรุนแรงของการบาดเจ็บที่ศีรษะ
รุนแรงน้อย (Minor traumatic head injury) GCS 13-15
รุนแรงปานกลาง(Moderatetraumaticinjury)GCS9-12
รุนแรงมาก (Severe traumatic head injury) GCS 3-8
Minor traumatic head injury = GCS 15
Moderate traumatic injury = GCS 13 -14 หรือ GCS 15 ร่วมกับอาการอยทางน้อย 1 ข้อต่อไปนี้ อาเจียน (< 2 คร้งั )/ มีประวัติหมดสติ/ ปวดศีรษะ / จําเหตุการณ์ไม่ได้
Severe traumatic head injury คือ ผู้ป่วยในข้อใดข้อหนึ่งดังนี้ GCS 13-14 หลังสังเกต อาการ 1-2 ชั่วโมง
การดูแลรักษาผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศรีษะ
สังเกตอาการ และพิจารณาส่ง CT brain
การดูแลเฉพาะ
การดูแลเพื่อป้องกัน secondary brain injury ในผู้ป่วย severe head injury
การรักษาด้วยยา
การรักษาด้วยยา
การให้คําแนะนําก่อนกลับบ้าน
การดูแลผู้ป่วยระยะยาว
โรคหลอดเลือดสมอง (Cerebrovascular disease, Stroke)
โรคหลอดเลือดสมองแบ่งตามระยะเวลาการดําเนินของโรค
Transient ischemic stroke (TIA)
Progressive stroke
Complete stroke
การรักษาผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง
การรักษาโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน
การให้ยาละลายลิ่มเลือด (Thrombolytic Agent)
การให้ยาต้านเกร็ดเลือด (Antiplatelet)
การผ่าตัด
การรักษาภาวะสมองบวม
การรักษาความดันโลหิตสูง
การให้ยาต้านเลือดแข็งตัว(Anticoagulant)
การรักษาโรคหลอดเลือดสมองปริแตกหรือฉีกขาด
เป้าหมายของการรักษาคือ ควบคุมปริมาณเลือดที่ออกด้วยการรักษาระดับความดันโลหิต กรณีที่ เลือดออกมากอาจผ่าตัด
การรักษาภาวะแทรกซ้อนของโรคหลอดเลือดสมอง
กล้ามเนื้อแข็งเกร็ง (spasticity) กล้ามเนื้อยึด (contracture) การรักษาโดยให้ยา ลดเกร็ง หรือยากลุ่ม benzodiazepine
แผลกดทับ
การขับถ่ายปัสสาวะผิดปกติ
อาการปวดหลัง 2-3 วัน
เนื้องอกสมอง (Brain tumor)
อาการ
ปวดศีรษะ
คลื่นไส้ อาเจียนแบบพุ่ง (projectile vomiting)
ตามัว
ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง
ชัก
การทรงตัวผิดปกติ
อาการจากการสูญเสียหน้าที่ของสมองส่วนที่ถูกกดหรือถูกทําลาย
อาจพบอาการและอาการแสดงจากไขสันหลังถูกกด
การรักษามะเร็งสมอง
รักษาตามอาการ
การรักษาเฉพาะ
รังสีรักษา
เคมีบําบัด
การผ่าตัด
การฟื้นฟูสมรรถภาพหรือการทํากายภาพบําบัด
การรักษาแบบทางเลือก
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีการอักเสบ ติดเชื้อหรือการเสื่อมของระบบประสาท
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ (Meningitis)
อาการของโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ
ระยะแรกมีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ เมื่อผ่านไปหลายชั่วโมงหรือ 2-3 วันต่อมาจะปวดศีรษะ (พบบ่อย 90%) สับสน ไข้สูงเฉียบพลัน คอแข็ง เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ชัก แพ้แสงหรือไวต่อแสง
การรักษาโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ:
การรักษาการติดเชื้อด้วยยาปฏิชีวนะ
การรักษาตามอาการ
ไข้สมองอักเสบ (Encephalitis)
อาการ
ไข้สูงปานกลาง ปวดศีรษะมาก เวียนศีรษะ คลื่นไส้อาเจียนบ่อย ต่อมาจะมีอาการไข้สูงตลอดเวลา ซึมลง จนกระทั่งไม่รู้สึกตัว อาจมีอาการตัวเกร็งแข็ง หรือชักกระตุก หรือแขนขาเป็นอัมพาตร่วมด้วย
การรักษา
การรักษาตามอาการ คือ เพื่อลดอาการบวมของสมอง ดูแลระบบทางเดินหายใจ ให้ยาระงับ อาการชัก ควบคุมความดันของสมองและความดันโลหิต
การป้องกันไข้สมองอักเสบ
การจัดการสิ่งแวดล้อม ไม่ให้ถูกยุงกัด ย้ายคอกหมูหรือคอกสัตว์ให้ห่างออกไปจากบ้าน หรือ ทําลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงตามทุ่งนา
การฉีดวัคซีนป้องกันโรคทั้งในเด็ก และในผู้ใหญ่
ฝีในสมอง (Brain abscess)
อาการ
ปวดศีรษะ ไข้ ระดับความรู้สึกลดลง อาจมีอาการระบบประสาทเฉพาะที่ตามตําแหน่งที่มีฝี มีปัญหาการมองเห็น ชัก อาจพบอาการของความดันในกะโหลกศรีษะสูง:
การรักษา
การรักษาด้วยยาต้านจุลชีพตามผลการตรวจเพาะเชื้อ หรือแหล่งกําเนิดของการติดเชื้อ
ติดตามผลเพาะเชื้อภายหลัง
การรักษาทางศัลยกรรม ดูดหนองออก
การรักษาตามอาการได้แก่ ยา Corticosteroid
โรคปลอกประสาทเสื่อมแข็ง (Multiple sclerosis)
อาการและอาการแสดง
เส้นประสาทตาอักเสบ (Optic neuritis)
ไขสันหลังอักเสบ ทําให้แขน ขา หรือลําตัว ชาหรืออ่อนแรง
การรักษา
การรักษาเฉพาะ ในระยะกําเริบ ให้ยาสเตียรอยด์ฉีดทางหลอดเลือดจากนั้นเปลี่ยนเป็นชนิด รับประทาน
การรักษาอาการต่างๆของโรค
กลุ่มอาการกิลแลงบาร์เร (Guillain-Barre Syndrome, GBS)
อาการ
มีอาการภายหลังการติดเชื้อ ในทางเดินหายใจหรือทางเดินอาหาร 2-3 วันหรือ ภายใน 2 สัปดาห์ อาการของผู้ป่วยจะทรุดลงใน 2-4 สัปดาห์ และเข้าสู่ระยะฟื้นตัวเมื่อถึงช่วงสงบของโรคใน 2-4 สัปดาห์
การรักษากลุ่มอาการกิลแลง-บาร์เร
การเปลี่ยนถ่ายพลาสม่า (Plasmapheresis)
การรักษาด้วยอิมมูโนโกลบูลิน (Immunoglobulin Therapy, IVIG)
การรักษาอื่น ๆได้แก่ กายภาพบําบัดในช่วงก่อนและระหว่างที่รอฟื้นตัว
โรคมายแอสทีเนียกราวิส (Myasthenia gravis, MG)
อาการและอาการแสดง
กล้ามเนื้ออ่อนแรง
deep tendon reflex ปกติ
หนังตาตก (Ptosis) มองเห็นภาพซ้อน (Diplopia)
การรักษา
การรักษาด้วยยากลุ่ม Anticholinesterase inhibitors: pyridostigmine (Mestinon), neostigmine (Prostigmine)
การผ่าตัดต่อมธัยมัส (Thymectomy)
การให้ยากดภูมิคุ้มกันเช่น prednisolone
การกรองพลาสมา (Plasma exchange, Plasmapheresis)
โรคพาร์กินสัน (Parkinson’s disease)
อาการของโรคพาร์กินสัน
สีหน้าเมินเฉย ไม่แสดงอารมณ์ พูดเบาไม่ชัด เขียนหนังสือลําบาก สั่นขณะช่วงการพัก (Resting tremor) อาการสั่นลดลงเมื่อทํากิจกรรม ยืนไม่ตรง (postural instability)
การรักษา
การรักษาด้วยยาทําให้มีปริมาณโดพามีนเพียงพอ
การรักษาโดยการผ่าตัดกระตุ้นสมองส่วนลึก(deepbrainstimulation)
การทํากายภาพบําบัดเพื่อให้มีคณุ ภาพชีวิตใกล้เคียงคนทั่วไป
การให้คําแนะนํา เน้นย้ำการรับประทานยาตามแผนการรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของระบบประสาทส่วนปลายหรือไขสันหลัง
โรคปวดเส้นประสาทใบหน้า (Trigeminal neuralgia)
อาการ
ปวดแปลบคล้ายไฟช็อตที่บริเวณใบหน้า อาจมีอาการคล้ายปวดฟัน ปวดบริเวณเหงือก
การรักษาโรคปวดเส้นประสาทใบหน้า
การใช้ยากลุ่มยากันชัก
การผ่าตัดเพื่อแยกเส้นเลือดที่กดทับเส้นประสาทออก(microvasculardecompression)
การฉายรังสี
โรคอัมพาตเบลล์ หรือ โรคใบหน้าเบี้ยว (Bell’s palsy)
การรักษา
การรักษาด้วยยา
การดูแลดวงตา โดยใส่ที่ปิดตาหรือแว่นตากันลม หยอดตา
การบาดเจ็บของไขสันหลัง (Spinal cord injury)
การรักษาผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลัง
การดูแลผู้ป่วยในระยะ Spinal shock
เคลื่อนย้ายผู้ป่วยอย่างถูกต้อง
ตรวจดูการบาดเจ็บร่วม
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง
Gardner-Well Tongs
การดูแลผู้ป่วยหลังระยะ spinal shock
การดูแลกระดูกสันหลังที่หัก
การรักษาแบบ conservative
การรักษาโดยการผ่าตัด
การดูแลระบบหายใจ
การให้ออกซิเจน
การให้ยาขยายหลอดลมและยาละลายเสมหะ
การใช้วิธีการทางกายภาพบําบัด
การฟื้นฟูสภาพ (Rehabilitation)
ดูแลการหายใจ ควบคมุ อาการปวด ดูแลการขับถ่ายปัสสาวะ อุจจาระ ช่วยเหลือในการเคลื่อนไหว ป้องกันแผลกดทับ ลดการหดเกร็งของกล้ามเนื้อ การดูแลจิตใจ
โรคหมอนรองกระดูกเคลื่อนทับเส้นประสาท (Herniated disc/ Herniated Nucleus Palposus, HNP)
อาการ
เกิดจากการรบกวนเส้นประสาทสันหลังที่เลี้ยงขาทําให้ปวดหลังบริเวณเอวส่วนล่าง อาจปวดข้าง เดียวหรือทั้งสองข้าง
การรักษาโรคหมอนรองกระดูกเคลื่อนทับเส้นประสาท
รับประทานยาแก้อักเสบหรือยาคลายกล้ามเนื้อ การฉีดยาสเตียรอยด์เข้าโพรงประสาท
กายภาพบําบัด
การผ่าตัดหมอนรองกระดูกผ่านกล้องเอ็นโดสโคป กล้องจุลทรรศน์ หรือ คอมพิวเตอร์นําวิถี