Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กลุ่ม 4 บทบาทของสถานศึกษาในการพัฒนาชุมชนเเบบยั่งยืน, นางสาวกัญญธนัฏฐ์…
กลุ่ม 4 บทบาทของสถานศึกษาในการพัฒนาชุมชนเเบบยั่งยืน
ลักษณะของบทบาทสถานศึกษาต่อชุมชน
เชิงอนุรักษ์นิยม (Conservative Role)
การรักษาเเละถ่ายทอดเเนวคิด
เชิงสร้างสรรค์ (Creative Role)
ปรับปรุงเปลี่ยนแปลง
บทบาทหน้าที่ของโรงเรียนต่อชุมชนตามที่กดหมายกำหนด
พัฒนาหลักสูตร
ประสานความร่วมมือ
จัดโอกาสเข้าศึกษาต่อ
ประกันคุณภาพ
ประเมินผู้เรียน
ระดมทรัพยากร เเละบริหารจัดการทรัพยากร
จัดกระบวนการเรียนรู้เเละพัฒนา
บทบาทหน้าที่ของโรงเรียนต่อชุมชน ตามแนวคิดนักวิชาการ
ไพฑูรย์ สินลารัตน์ (2540)
การบูรณาการ
การเป็นแหล่งวิทยาการ
การถ่ายทอด และส่งเสริมวัฒนธรรม
การเป็นศูนย์ประสานงาน
การให้การศึกษา
การพัฒนาชุมชน
บทบาทหน้าที่ของชุมชนต่อโรงเรียน
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ 2542
มีส่วนร่วมจัดการศึกษา
จัดกระบวนการเรียนรู้
การจัดการศึกษา
เป็นคณะกรรมการสถานศึกษา
ส่งบุตรหลานเข้าเรียน
สนับสนุนทรัพยากร
ความสัมพันธ์ของโรงเรียนกับชุมชน : ชูชาติ พ่วงสมจิตร์ (2560)
ดำเนินการ (Do)
การปรับเจตคติ
การสร้างความรู้ความเข้าใจ
ปรับวิธีการดำเนินงาน
การสร้างความเข้าใจและแก้ปัญหา
3 ตรวจสอบ (Check)
การตรวจสอบระหว่างดำเนินการ
การตรวจสอบหลังดำเนินการ
วางแผน (Plan)
กำหนดเป้าหมาย
กำหนดยุทธศาสตร์
ศึกษาสภาพปัจจุบัน
ปรับปรุงแก้ไข (Act)
ปรับปรุงดำเนินการแต่ละขั้นตอน
ปรับปรุงแผนในวงรอบต่อไป
แนวทางสร้างความสัมพันธ์โรงเรียนกับชุมชน : ชูชาติ พ่วงสมจิตร์ (2560)
ความสัมพันธ์ทางอ้อมโรงเรียนกับชุมชน
สรุปความ
ประโยชน์ทั้งฝ่ายโรงเรียนและฝ่ายชุมชน โรงเรียนควรถือเป็นหน้าที่หลัก ควรเป็นฝ่ายรุกมากกว่าฝ่ายตั้งรับ อาจใช้การพัฒนาคุณภาพ PDCA
การปรับปรุงอาคารสถานที่
ปลูกต้นไม้
อำนวยความสะดวก
บริการ น้ำดื่ม ห้องน้ำ
ห้องเรียนที่เพียงพอ
แต่งห้องเรียน
ปรับปรุงพัฒนาบุคลากร
มีไหวพริบ
แต่งกายเหมาะสม
สุภาพอ่อนหวาน
เรียบร้อย
เป็นกันเอง
อดกลั้นต่อปัญหาต่าง ๆ
สัมพันธ์ทางตรงโรงเรียนกับชุมชน
นำชุมชนเข้ามาสู่โรงเรียน
ตั้งสมาคมศิษย์เก่า
เชิญผู้ทรงคุณวุฒิ
สานสัมพันธ์
เชิญประชาชนมาร่วมงาน
เชิญผู้ปกครอง
นำโรงเรียนออกสู่ชุมชน
เยี่ยมผู้ปกครองที่บ้าน
ใช้สถานที่ ภูมิปัญญา เป็นแหล่งเรียนรู้ของโรงเรียน
ประชาสัมพันธ์นโยบายให้ชุมชนทราบ
ให้ความรู้แก่ชุมชน
เข้าไปมีส่วนร่วมในชุมชน
ตัวอย่างบทบาทของสถานศึกษาในการพัฒนาชุมชนแบบยั่งยืนทางการศึกษาของไทย เเละทางการศึกษาของต่างประเทศ
ตัวอย่างบทบาทสถานศึกษาในการพัฒนาชุมชนแบบยั่งยืนทางการศึกษาของไทย
โรงเรียนครอบครัวบ้านห้วยม้าลอย ม. 4 บ.ห้วยม้าลอย ต.หนองสาหร่าย อ.ดอนเจดีย์ จ.สุพรรณบุรี 72170
กิจกรรมสานชุมชนโครงการพัฒนาเยาวชนในชุมชนท้องถิ่น หลักสูตรนักถักทอชุมชน เพื่อพัฒนาเด็ก เยาวชน และครอบครัว
การทำนาปลูกข้าว วิธีการปรับปรุงแปลงนา การนำเอาภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้
ส่งเสริมให้เด็กเรียนรู้ทักษะชีวิต ฝึกปฏิบัติจริง อีกทั้งเป็นการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชนให้มีความยั่งยืน
เป็นพลเมืองที่ดี เป็นที่ยอมรับของสังคม และเป็นเยาวชนที่ดีของประเทศชาติ
ตัวอย่างบทบาทสถานศึกษาในการพัฒนาชุมชนแบบยั่งยืนทางการศึกษาของต่างประเทศ
Seoul Foreign School (SFS) หรือโรงเรียนนานาชาติโซล ตั้งอยู่ที่เขตซอแด กรุงโซล ประเทศเกาหลีใต้
หลักสูตรแบ่งเป็น 3 ระดับ ต้น (3-12 ปี) กลาง (11-16 ปี) ปลาย (16-19 ปี)
เปิดสอนตั้งแต่ระดับ Pre-K ทำการเปิดสอนจนถึงเกรด 12
โรงเรียนต่างประเทศโซล เป็นชุมชนของนักเรียน ผู้ปกครอง พนักงาน และศิษย์เก่า
สมาคมผู้ปกครอง อาสาสมัคร PA หมายถึง ผู้ปกครองทุกคนเป็นสมาชิกของสมาคมผู้ปกครอง PA เป็นส่วนสำคัญของโรงเรียน เน้นการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง
Sports Boosters : ผู้ปกครองช่วยให้นักกีฬาประสบความสำเร็จ
อาสาสมัครช่วยจัดทัศนศึกษา อาหารว่างในห้องเรียน
งานกาล่าชุมชน
อาสาสมัครห้องสมุด วางหนังสือใหม่
งานเลี้ยงอาหารกลางวันขอบคุณครู
สนับสนุนศิลปะ
โซเชียลผู้ปกครอง
หัวคะแนนกองทุนประจำปี
คริสต์มาสบาซาร์
สนับสนุนทีม Admissions
วันภาคสนาม
ทำหน้าที่เป็นทูต
งานแสดงสินค้านานาชาติ
ข้อกำหนดสำหรับการเข้าเรียน (เพื่อสร้างความปลอดภัยให้กับชุมชชน)
กระบวนการตรวจวัดอุณหภูมิหลายขั้นตอน
บังคับสวมหน้ากากตลอดทั้งวัน
ตรวจวัดอุณหภูมิที่จำเป็นในแต่ละวัน
สำนักงานโรงละครของสถานศึกษา
มอบสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับนักเรียน ครู ผู้ปกครอง จัดงานให้กับชุมชน นำชุมชนมารวมกัน เพื่อการเต้นรำ ละคร ดนตรี และกิจกรรมพิเศษในแต่ละปี
การบริการด้านสุขภาพ
สนับสนุน บริการนักเรียน ครู ผู้ปกครอง และเจ้าหน้าที่ เพื่อส่งเสริมสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี
การขนส่งนักเรียน
เป็นเจ้าของรถโดยสารขนาดใหญ่ 25 คัน โดยมีเส้นทางประจำทาง 24 สาย ที่นำนักเรียนมากกว่า 1,000 คน ไปโรงเรียน จากพื้นที่ของกรุงโซล
สรุปและความคิดเห็น
ความร่วมมือจากชุมชนสู่สถาบันการศึกษา และสถาบันการศึกษาสู่ชุมชน บุคลากรต้องมีความเข้าใจอย่างลึกซึ้ง ปรับบทบาทให้สอดคล้องกับชุมชน ซึ่งผู้บริหารสถานศึกษาต้องมีบทบาทในการสร้างกลไกการเรียนรู้ร่วมกับชุมชน โดยความสัมพันธ์ต้องเป็นประโยชน์แก่ทุกฝ่าย ทั้งนักเรียน สถานศึกษา การพัฒนาชุมชน และสังคมอย่างยั่งยืน
ความหมายของบทบาท
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน (2542 : 602)
ทำท่าตามบทการ ทำตามหน้าที่ ที่กำหนดไว้
ศักดิ์ไทย สุรกิจบวร (2545 : 111)
พฤติกรรมสมาชิกในกลุ่ม ที่อยู่ในสภาพนั้นๆ
Tomey (1992, p. 146)
ลักษณะที่เฉพาะของบุคคล
ทฤษฎีของบทบาท
ทฤษฎีบทบาท (Scoot)
ยากที่จะกำหนดชี้เฉพาะ
เกิดการเรียนรู้เเละเปลี่ยนแปลง
ความสัมพันธ์กับพฤติกรรมในการทำงาน
บุคคลอาจมีหลายบทบาท
ความคาดหวังที่เกิดขึ้นในตำแหน่งต่างๆ
ระเบียบ คำเขียน (2546 : 11)
บทบาทตามตำแหน่ง ถูกคาดหวังจากสังคมรอบด้าน
ความหมายของชุมชน
ชุมชนในความ
เเบบดั้งเดิม สังคมขนาดเล็ก
ชุมชนรูปแบบใหม่
2.1 กลุ่มที่ใช้คลื่นวิทยุเป็นสื่อกลาง
2.2 กลุ่มที่ใช้สื่อสังคม
ความสำคัญของชุมชน
ชูชาติ พ่วงสมจิตร (2554)
สร้างกระบวนการเรียนรู้
รากฐานทางวัฒนธรรม เเละภูมิปัญญาท้องถิ่น
สถาบันระดับพื้นฐาน
ถ่วงดุลไม่ให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
ศูนย์กลางที่ยึดเหนี่ยว
จัดระบบความสัมพันธ์
ความหมายเเละบทบาทของสถานในการพัฒนาชุมชน
รุ่งทิพย์ เข็มทิศ
การติดต่อสื่สาร ได้รับความช่วยเหลือจากชุมชน
สมนึก พงษ์สกุล (2558 : 61)
ความร่วมมือจากชุมชนสู่สถาบันการศึกษา
สรุปความ
ความเข้าใจอันดีระหว่างโรงเรียนกับชุมชน
หลักการเเละบทบาทของสถานศึกษาในการพัฒนาชุมชน
สรุปความ
มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับชุมชนอย่างแท้จริง โดยคำนึงถึงประโยชน์ที่ชุมชนจะได้รับจากโรงเรียนมากที่สุด
ประสงค์ ถึงเเสง (2559) หลัก การสร้าง Trust
Appreciate การชื่นชม ยกย่อง
Understanding ศึกษาทำความเข้าใจ
Engage สร้างความผูกพันแน่นแฟ้น
Reach การเข้าถึงชุมชน ใกล้ชิด
ประสงค์ ถึงเเสง (2559) หลัก 3S
Shared Vision การสร้างชุมชนให้มีวิสัยทัศน์
School Based Activities สร้างสถานศึกษาให้้เป็นแหล่งความรู้ ศูนย์กลางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
Synergy การรวมพลังประสานความร่วมมือ
กาญจนา สิงห์มณี
เข้าใจเกี่ยวกับชุมชนที่สถานศึกษาตั้งอยู่อย่างลึกซึ้ง
Stoop and Rafferty
ให้ข้อมูลหรือข่าวสารที่น่าสนใจ
รับข่าวเเละให้ข่าว
กระทำต่อเนื่องติดต่อกัน
การสร้างความสัมพันธ์ควรใช้วิธีหลายๆ ด้าน
นางสาวกัญญธนัฏฐ์ ทำนาเมือง สาขานวัตกรรมการบริหารการศึกษา
รหัสนักศึกษา 65U54620208