Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติในระบบประสาท - Coggle Diagram
ความผิดปกติในระบบประสาท
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีโรคหรือความผิดปกติเกี่ยวกับความรู้สึกนึกคิด: Alteration of conscious,Seizure and Epilepsy
-
การตรวจร่างกาย ฟังเสียงลิ้นหัวใจรั่วหรือตีบ เสียงฟู่หลอดเลือดแคโรติด คลําการโตของอวัยวะภายใน ตรวจผิวหนังเพื่อค้นหาโรคที่อาจเกี่ยวข้องกับชัก เช่น tuberous sclerosis
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
-
เจาะหลังส่งCSF analysisกรณีสงสัย meningitis, encephalitis, HIV
Electrolytes (Na, Ca, Mg), BUN, creatinine, blood glucose, LFT, สารพิษ
-
-
-
-
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีการเปลี่ยนแปลงของการไหลเวียนเลือดในสมอง: Head injury, Increased Intracranial Pressure (IICP), Stroke, Aneurysm
-
ความดันในกะโหลกศีรษะสูง(Increased Intracranial Pressure, IICP)
CPP = MAP (Mean aterial pressure) –ICP(Intracranial pressure)
- ค่า CPPในผู้ใหญ่ = 60-100มม.ปรอท
- ค่า MAP= 50-150 มม.ปรอท
- ค่าICPท่านอนตะแคงเจาะหลังใช้มาโนมิเตอร์วัดมีค่า 8-18 cmH2O
อาการและอาการแสดงของภาวะIICP
- ปวดศีรษะและอาเจียน
- ตามัว ภาพซ้อน
- Cushing triad
- papillary reflex
การดูแลผู้ป่วยที่ภาวะแรงดันในกะโหลกศีรษะสูงในระยะแรก
- ประเมินการหายใจ ภาวะออกซิเจน ความดันโลหิต
- การจัดท่าผู้ป่วย
- การควบคุมระดับความดันโลหิตและ CPP
- การทําให้ผู้ป่วยสงบ (sedation)
- Mannitol เป็น osmotic diuretics ที่นิยมใช้
โรคหลอดเลือดสมอง (Cerebrovascular disease, Stroke
ประเภทของโรคหลอดเลือดสมอง
- Transient ischemic stroke(TIA)
- Progressive stroke
- Complete stroke
การประเมินสภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง พูดไม่ชัด(Dysarthria)ปากเบี้ยว มุมปากตก น้ำลายไหล(Facial paralysis) กลืนลําบาก(Dysphagia) ปวดศีรษะ เวียนศีรษะทันทีทันใด ทรงตัวลําบาก เดินเซ (Ataxic gait) แบบประเมินGlasgow Coma Scale (GCS)
การรักษาโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน
- ตีบของ extracranial carotid มักผ่าตัด Carotid endarterectomy
- lacunarและ TIA จะให้ยาต้านเกร็ดเลือดเป็นการรักษาหลัก
- Embolism:อาจให้ยา Thrombolytic Agent
การรักษาโรคหลอดเลือดสมองปริแตกหรือฉีกขาด
- Hematoma removal
- wide craniotomy
- ventriculostomy
- shunting
-
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีเนื้องอกหรือการเสื่อมของระบบประสาท: Brain tumor, Parkinson
-
-
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีการอักเสบ ติดเชื้อของระบบประสาท: Meningitis, Encephalitis, Brain abscess, Multiple sclerosis, Myasthenia gravis, Guillain-Barre syndrome
-
-
-
-
การรักษา
การดูแลผู้ป่วยในระยะSpinal shock
- เคลื่อนย้ายผู้ป่วยอย่างถูกต้อง
- ตรวจดูการบาดเจ็บร่วม
- ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง ให้ได้รับ oxygen
- Gardner-Well Tongs
การดูแลผู้ป่วยหลังระยะspinal shock
- การรักษาแบบ conservative
- Cruthfield tongs
- Halo vest (Halo traction)
- การรักษาโดยการผ่าตัด
-
โรคหมอนรองกระดูกเคลื่อนทับเส้นประสาท (Herniated disc/Herniated Nucleus Palposus, HNP)
อาการ อาการปวดหลังบริเวณเอวส่วนล่าง อาจปวดเพียงข้างเดียวหรือทั้งสองข้าง มักมีอาการในท่านั่ง หรือมีการนั่งงอตัวไปทางด้านหน้าซึ่งเป็นท่าที่หมอนรองกระดูกได้รับแรงกดทับมากที่สุดอาการอื่นได้แก่ อาการปวดขาชาขา
การรักษาโรคหมอนรองกระดูกเคลื่อนทับเส้นประสาท
- รับประทานยาแก้อักเสบหรือยาคลายกล้ามเนื้อเพื่อบรรเทาอาการปวด
- กายภาพบําบัด
- การฉีดยาสเตียรอยด์เข้าโพรงประสาท
- การผ่าตัดหมอนรองกระดูกผ่านกล้องเอ็นโดสโคปกล้องจุลทรรศน์หรือ คอมพิวเตอร์นําวิถี
-
-
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของระบบประสาทส่วนปลายหรือไขสันหลัง: Trigeninal neuralgia, Bell’s palsy, Spinal cord injury, Herniated Nucleus Palposus, Spondylolithiasis,Spinal cord stenosis
-
ฝีในสมอง (Brain abscess)
-
-
การรักษา
- รักษาด้วยยาต้านจุลชีพตามผลการตรวจเพาะเชื้อ
- ดูดหนองออก เพื่อควบคุมความดันในกระโหลกศีรษะ
- รักษาตามอาการได้แก่ ยา Corticosteroid เพื่อช่วยลดการอักเสบที่สมอง ยาป้องกันอาการชัก เช่น Phenytoin, Phenobarbita
-
กลุ่มอาการกิลแลง-บาร์เร(Guillain-Barre Syndrome, GBS)
อาการ
- กล้ามเนื้ออ่อนแรงส่วนต้นของแขนขาทั้ง2ข้าง
- รีเฟลกซ์ลดลงหรือไม่พบอาการของผู้ป่วยจะทรุดลงใน2-4สัปดาห์
การประเมินสภาพ
- การเจาะหลัง (Lmbar Puncture)
- ตรวจคลื่นไฟฟ้ากล้ามเนื้อ (Electromyography: EMG)
- ตรวจการชักนําประสาท (Nerve Conduction Tests)
การรักษากลุ่มอาการกิลแลง-บาร์เร
- การกรองพลาสม่า (Plasmapheresis)
- รักษาด้วยอิมมูโนโกลบูลิน (Immunoglobulin Therapy)
- การรักษาอื่น ๆได้แก่ กายภาพบําบัดในช่วงก่อนและระหว่างที่รอฟื้นตัว