Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบริหารจัดการภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อการจัดการเรียนรู้ของสถานศึกษา,…
การบริหารจัดการภูมิปัญญาท้องถิ่น
เพื่อการจัดการเรียนรู้ของสถานศึกษา
การบริหารจัดการ
การบริหาร
พนัส หันนาคินทร์(2549 : 24)
กระบวนการที่ผู้ใช้อำ นาจ
ตลอดทรัพยากรต่าง ๆ
บรรจบ เนียมมณี (2553, หน้า 261)
ต้องมีการกระทำ อย่างใดอย่างหนึ่งร่วมกัน
ต้องมีเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ในการกระทำ ร่วมกันเด่นชัด
บุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป
Williams(1980)
การดำ เนินการให้สำ เร็จตามเป้าหมาย
การบำ รุงรักษาองค์การให้อยู่รอด
การป้องกันองค์กรจากสิ่ง
แวดล้อมภายนอก
Collins(2009)
กลุ่มของกิจกรรมที่ร่วมกันในองค์การ
การจัดการ
สมยศ นาวีการ (2536: 23)
เป็นกิจกรรมของการบริหาร
ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ (2545: 211)
กระบวนการนำทรัพยากรการบริหารมาใช้ตามขั้นตอนการบริหาร
Bartol and Martin(1998)
การจัดการองค์กร
การชี้นำ
การวางแผน
การควบคุมองค์กร
Rue and Byars(2002)
รูปแบบของงานซึ่งเกี่ยวข้องกับการประสาน
ทรัพยากรต่าง ๆ ขององค์กร
การบริหารจัดการ
ศิริวรรณ เสรีรัตน์และคณะ (2542, หน้า 35)
การบริหารจัดการองค์การ (Organizing)
การชี้นำ (Leading)
การวางแผน (Planning)
การควบคุม (Controlling)
ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ความเป็นมา
ประเวศ วะสี (2536: 21)
เกิดจากการสั่งสมการเรียนรู้เป็นระยะเวลา ยาวนาน มีลักษณะเชื่อมโยงกันไปหมดทุกสาขาวิชา
ยุพา ทรัพย์อุไรรัตน์ (2537 : 21)
เกิดจากการสั่งสมความรู้ประสบการณ์ ที่ได้รับถ่ายทอดจากบุคคลและสถาบันต่าง ๆ โดยมีอิทธิพลของสิ่งแวดล้อมและศาสนา
สุจริต บัวพิมพ์ (2530)
สะสมขึ้นมาจากประสบการณ์
ของชีวิต สังคม และในสภาพสิ่งแวดล้อมที่แตกต่างกัน และถ่ายทอดสืบทอด กันมา
ความหมาย
ระพีพรรณ จันทรสา. (2550).
ปัญญา หมายความว่า ความรอบรู้ ความรู้ทั่ว ความฉลาดเกิดแต่การเรียนและคิด
ภูมิปัญญา หมายถึง พื้นความรู้ ความสามารถ
ภูมิ หมายความว่า พื้น ชั้น พื้นเพ
ภูมิปัญญาท้องถิ่น หมายถึง ความสามารถในการใช้พื้นความรู้สร้างสรรค
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2554 (2556 : 872)
พื้นฐานความรู้ความสามารถ
ความสำคัญ
สมจิตร พรหมเทพ (2543)
ภูมิปัญญาท้องถิ่นมีความสำ คัญต่อชาวบ้าน ครอบครัว ชุมชน สังคม
รุ่ง แก้วคง (2543)
ภูมิปัญญาไทยได้ช่วยสร้างชาติให้ เป็นปึกแผ่นสร้างศักดิ์ศรีและเกียรติภูมิแก่คนไทย
นันทสาร สีสลับ (2542)
สร้างความภาคภูมิใจและศักดิ์ศรีเกียรติภูมิแก่คนไทย
สร้างความสมดุลระหว่างคนในสังคมและธรรมชาติได้อย่างยั่งยืน
ภูมิปัญญาไทยช่วยสร้างชาติใติ
ห้เป็นปึกแผ่น
ลักษณะ
เสรี พงศ์พิศ(2536:145)
ลักษณะที่เป็นนามธรรม เป็นปรัชญาในการดำ เนินชีวิต
ลักษณะที่เป็นรูปธรรม เป็นเรื่องเกี่ยวกับเฉพาะด้านต่าง ๆ
ประเวศ วะสี และคณะ (2536 : 21-23)
มีความเชื่อมโยงหรือบูรณาการสูง
มีความเคารพผู้อาวุโส
ความจำ เพาะเกี่ยวกับท้องถิ่น
ประเภท
อังกูล สมคะเนย์ (2535 )
กลุ่มที่ 2 เรื่องของศิลปะ วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมและประเพณ
กลุ่มที่ 3 เรื่องของการประกอบอาชีพของแต่ละท้องถิ่น
กลุ่มที่ 1 เรื่องเกี่ยวกับ คติ ความคิด ความเชื่อ
กลุ่มที่ 4 เรื่องของหลักปฏิบัติ และเทคโนโลยี
สำ นักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ (2542)
สาขาสวัสดิการ
สาขาศิลปกรรม
สาขากองทุนและธุรกิจชุมชน
สาขาจัดการ
สาขาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สาขาภาษาและวรรณกรรม
สาขาการแพทย์แผนไทย
สาขาศาสนาและประเพณี
สาขาอุตสาหกรรมและหัตถกรรม
รุ่ง แก้งแดง(2543: 206-208)
สาขาการศึกษา
สาขาเกษตรกรรม
แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อการจัดการเรียนรู้ของสถานศึกษา
ทฤษฎี
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
เคท เดวิส (Keith Davis, 1972)
การร่วมงานที่มีการเกี่ยวข้องกันทางด้านจิตใจและอารมณ์ ผลการเกี่ยวข้องกันทำให้การดำเนินการ บรรลุเป้าหมายของกลุ่ม
ไวท์ (White, 1982)
การมีส่วนร่วมในการเสียสละและพัฒนาตามที่ได้ตัดสินใจ
มีส่วนร่วมในการแบ่งปันผลประโยชน์ที่ได้จากการดำเนินงาน
การมีส่วนร่วมใน การตัดสินใจว่าควรทำอะไร
การมีส่วนร่วม ในการประเมินผล
การบริหารจัดการเชิงระบบ
องค์ประกอบที่อยู่นอกระบบ
ความคาดหวัง ได้แก่ ความคาดหวังของผู้ผลิต ของลูกค้า รัฐบาล ตลอดจนประชาชนทั่วไป
สภาพแวดล้อม ได้แก่ ภาวะการตลาด ภาวะเศรษฐกิจ เทคโนโลยี การปกครอง การเมืองและสังคม
ทรัพยากร ได้แก่ ปัจจัยด้านมนุษย์ เงิน วัสดุ ทรัพยากรธรรมชาติ
องค์ประกอบในระบบ
กระบวนการ (Process)ได้แก่ เทคนิควิธี ขั้นตอนการดำเนินงานต่างๆ ตั้งแต่ต้นจนจบ
ลที่ได้รับหรือผลผลิต (Output) เป็นผลที่ได้รับจากปัจจัยนำเข้าและกระบวนการทั้งหมด
ปัจจัยนำเข้า(Input) ได้แก่ วัสดุ อุปกรณ์ วัตถุดิบ แรงงาน เงินทุน ทรัพยากรต่างๆ รวมไปถึงเวลาและสถานที่
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
พลพักษ์ คนหาญ. (2558). รูปแบบการมีส่วนร่วมของโรงเรียนกับชุมชนในการนําภูมิปัญญาท้องถิ่นมาจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
การมีส่วนร่วม ในการวิเคราะห์สถานการณ์ และความต้องการในการนำ ภูมิปัญญาท้องถิ่นมาจัดการเรียนรู้
การมีส่วนร่วมในการกำ หนดเป้าหมาย จุดเน้นในการนำ ภูมิปัญญาท้องถิ่น มาจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษา
การมี ส่วนร่วมในการระดมทรัพยากรเพื่อนำ ภูมิปัญญาท้องถิ่น มาจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
การมีส่วนร่วมปฏิบัติใติ
นการนำ ภูมิปัญญาท้องถิ่นมา จัดการเรียนรู้ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
การมีส่วนร่วมในการติดตามและประเมินผลการนำ ภูมิปัญญาท้องถิ่นมาจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
กษมาพร ทองเอื้อ. (2564). การบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
ด้าน การวางแผนกลยุทธ
ด้านการส่งเสริมการใช้
แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ด้านการวางแผนจัดการแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ด้านการกำ กับติดตามและ ส่งเสริมการบริหาร
ด้านการเปิดโอกาสให้ผู้
เกี่ยวข้องมีส่วนร่วม
ด้านการพัฒนา การออกแบบและเชื่อมโยงองค์ความรู้จากแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
แนวคิด
นิคม ทาแดง กอบกุล ปราบประชาและอำนวย เดชชัยศรี(2545, 18)
การวางแผน หรือจัดทำ โครงการตามสภาพ
ดำ เนินงานตามแผนที่วางไว้
ศึกษาสภาพปัจจุบันและวิเคราะห์นโยบายของสถานศึกษา
หน่วยศึกษานิเทศก์ กรมสามัญศึกษา (2544 : 14)
การบริหารแหล่งเรียนรู้
PDCA
การจัดแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน
เครือข่ายระหว่างสถานศึกษากับบ้าน
เครือข่ายระหว่างสถานศึกษากับสถานศึกษา
เครือข่ายระหว่างบุคลากรภายในสถานศึกษา
เครือข่ายระหว่างสถานศึกษากับชุมชน
เครือข่ายสื่อและแหล่งการเรียนรู้
นางสาวปานฟ้า แถววงษ์ สาขานวัตกรรมการบริหารการศึกษา
รหัสนักศึกษา 65U54620210