Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาความผิดปกติของต่อมไร้ท่อ - Coggle…
บทที่ 7
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาความผิดปกติของต่อมไร้ท่อ
Diabetes mellitus
แบ่งเป็น 2 ชนิด
type I ตับอ่อนสร้างอินซูลินได้น้อย/สร้างไม่ได้
type Il มีภาวะดื้ออินซูลิน สร้างได้แต่ใช้ไม่ได้
อาการและอาการแสดง
ถ่ายปัสสาวะมาก (polyuria)
ดื่มนำ้มาก (polydipsia)
นำ้หนักลด (weight loss)
ทานอาหารมากขึ้น (polyphagia)
ภาวะแทรกซ้อน
หลอดเลือดตีบแข็ง, จอตาเสื่อม, ไตเสื่อม, ชาปลายมือ
ปลายเท้า, นำ้ตาลในเลือดสูง, นำ้ตาลในเลือดตำ่
การรักษา
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
รักษาด้วยยา
มาตรวจตามนัด
ปัญหาทางการพยาบาล
และการพยาบาล
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนเรื้อรังเนื่องจาก
ขาดความรู้ในการควบคุมโรคเบาหวาน
ประเมินความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรค
แนะนำ อธิบายความสำคัญในการควบคุมระดับนำ้ตาล
อธิบายให้ทราบถึงภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น
หากควบคุมไม่ดี
Hypothyroidism
มีการหลั่ง TH น้อยเกินไป
สาเหตุ
autoimmune thyroiditis ระบบภูมิคุ้มกันทำลาย
ต่อมไทรอยด์
ได้รับสาร iodine ไม่เพียงพอ
การรักษาด้วยการฉายแสงในผู้ป่วยมะเร็ง เช่น
มะเร็งบริเวณศีรษะ คอ และต่อมนำ้เหลือง
เกิดภายหลังการรักษา hyperthyroidism
ปัญหาทางการพยาบาล
ความทนต่อการทำกิจกรรมลดลงจาก
กล้ามเนื้ออ่อนแรง
โภชนาการเปลี่ยนแปลง/ท้องผูก
อุณหภูมิร่างกายตำ่
การพยาบาล
ดูแลให้ดื่มนำ้มากๆ
ดูแลให้ได้รับอาหารไฟเบอร์สูง
ประเมิน v/s
รักษาความอบอุ่นของร่างกาย
Hyperthyroidism
มีการหลั่ง T3, T4 อยู่มากในกระแสเลือด
ทำให้มีการผลิตฮอร์โมนธัยรอยด์มากขึ้น
สาเหตุ
โรคเกรฟ
โรคพลัมเมอร์
เนื้องอกเป็นพิษ
อาการและอาการแสดง
นำ้หนักตัวลดลง, เหงื่อออกมาก, ตาโปน, เหนื่อยง่าย,
ความยืดหยุ่นของปอดลดลง, อารมณ์เปลี่ยนแปลง, กินจุ,
ถ่ายบ่อย, การสลายของกระดูกมากกว่า
การรักษา
ลดภาวะเครียด
ยาต้านธัยรอยด์/ไอโอดีน
ผ่าตัด
การใช้กัมมันตภาพรังสีไอโอดีน
ปัญหาทางการพยาบาล
และการพยาบาล
เสี่ยงต่อการมีปริมาตรเลือดออกจากหัวใจใน 1 นาทีลดลง
ติดตาม v/s
แนะนำพักผ่อนและทำกิจกรรมให้สมดุล
การรับประทานยาตามแผนการรักษา ยากลุ่มต้านไทรอยด์
ยากกั้นเบต้า ห้ามหยุดยาเอง
-เลี่ยงคาเฟอีน ชา กาแฟ
เนื้องอกของต่อมใต้สมอง
(Pituitary tumor)
แบ่งเป็น 2 กลุ่ม
กลุ่มที่หลั่งฮอร์โมน เกิดจากฮอร์โมนที่หลั่งออกมาเนื้องอกยังเล็กอยู่
กลุ่มไม่หลั่งฮอร์โมน มาตรวจเมื่อมีอาการเนื้องอกกด optic chiasm กดเส้นประสาทตา การมองเห็นลดลง
อาการและาการแสดง
เนื้องอกกดเบียดอวัยวะข้างเคียง
หากเนื้องอกใหญ่กดเบียดประสาทตา ทำให้มองเห็นผิดปกติ/ อาจเกิด IICP
การพร่องฮอร์โมน
เนื้องอกรบกวนการสร้างฮอร์โมนต่างๆ ทำให้มีอาการของพร่องฮอร์โมนแต่ละชนิด
เนื้องอกสร้างฮอร์โมนมากเกินปกติ
เกิด acromegaly, Cushing syndrome หรือไทรอยด์เป็นพิษ
การรักษา
การผ่าตัด
transcranial approach
transsphenoidal approach
รักษาทางยา ให้ฮอร์โมนทดแทน
รังสีรักษา เป็นการรักษาเพิ่มหลังจากยา/ผ่าตัด
ปัญหาทางการพยาบาล
และการพยาบาล
ก่อนผ่าตัด
เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุเนื่องจากมีความผิดปกติของสายตา
ให้การพยาบาลตามอาการ เช่น อาการปวดศีรษะ ตามองเห็นภาพซ้อน เป้นต้น
หลังผ่าตัด Transcranial approach
เสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด: เลือดออก ความดันในกะโหลกศรีษะสูง
ประมเมิน V/S และ Neuro sign การแสดงสีหน้า กรอกตา ลานสายตา การพูด การเคลื่อนไหว
ติดตามปริมาณเลือดที่ออกจากแผลผ่าตัด
จัดท่านอนศรีษะสูง 30 องศา เลี่ยงสั่งนํ้ามูก ไอ/ก้มตัว ท้องผูก
เบาจืด (Diabetes insipidus)
ต่อมใต้สมองส่วนหลังหลั่ง ADH น้อย ทำให้ไตไม่ดูดซึมนํ้ากลับ
สาเหตุ
บริเวณ hypothalamoneurohypophyseal system ถูกทำลาย
จากเนื้องอก การแพร่ของเซลล์มะเร็งต่อมนํ้าเหลือง มะเร็งปอด
โรคซิฟิลิส หรือไตไม่ตอบสนองต่อ ADH
อาการและอาการแสดง
ปัสสาวะมาก ประมาณ 5-20 ลิตร/วัน
กระหายนำ้มาก อ่อนเพลีย
ผิดหนังแห้ง นั้าหนักลด เบื่ออาหาร
ปัสสาวะมีความถ่วงจำเพาะตํ่า (Sp.gr < 1.005)
หัวใจเต้นเร็ว /อาจ shock ถ้าให้นํ้าทดแทนไม่ทัน
การรักษา
ให้ vasopressin และ vasopressin tannate ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ/
ให้ lypressin พ่นทางจมูก
ปัญหาทางการพยาบาล
และการพยาบาล
มีภาวะขาดนำ้เนื่องจากปัสสาวะมาก
ดูแลให้ได้รับสารนํ้าทดแทน
ประเมินสัญยาณชีพโดยเฉพาะ BP
ดูแลการได้รับ ADH ทดแทน
ติดตาม conscious
ติดตาม serumsodium
SIADH
ต่อมใต้สมองส่วนหลังหลั่ง ADH มากทำให้ดูดซึมนำ้กลับมากกว่าปกติ
การรักษา
จำกันนํ้า วันละ 500-800 ml.
สารนั้าทางหลอดเลือดดำ ชนิด normal saline
รักษาด้วย hypertonic (3%) saline ทางหลอดเลือดดำ
200-300 ml. (ชัก/หมดสติ)
ให้ยาขับปัสสาวะ furosemide 1 mg/Kg
อาการและอาการแสดง
อาการน้อย
serum Na 130- 135 mEq/L
-เบื่ออาหาร ตะคริว
อาการปานกลาง
serum Na 120- 130 mEq/L
-ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย สับสน นํ้าหนักเพิ่มขึ้น ปวดท้อง
อาการรุนแรง
serum Na < 120 mEq/L
-ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยน ชัก ไม่รู้สึกตัว
ปัญหาทางการพยาบาล
และการพยาบาล
มีภาวะนํ้าเกินเนื่องจากการถ่ายปัสสาวะผิดปกติ
ประเมินภาวะนำ้เกิน
สังเกตอาการและอาการแสดงของภาวะไม่สมดุลของสารนํ้า
และภาวะโซเดียมในเลือดตํ่า
จำกัดปริมาณสารนํ้า
ดูแลให้ได้รับ 3% NaCl IV ช้าๆ หากหอบเหนื่อย เสมหะเป็นฟอง
รายงานแพทย์
Hyperparathyroidism
มีการหลั่งพาราธัยรอยด์ฮอร์โมนมากเกินไป
ทำให้การเผาผลาญของกระดูกผิดปกติ
ภาวะแทรกซ้อน
CRF
ข้อเปลี่ยนแปลง
ปวดกระดูก
ตับอ่อนอักเสบ
ความดันสูง
การรักษา
ให้อาหารแคลเซียมตํ่า วิตามินดีตํ่า ดื่มนํ้า 2-3 ลิตร/วัน
ผ่าตัดเอาเนื้องอกออก
ปัญหาทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อการได้รับบาดเจ็บ การหักของกระดูกจากการมี
แร่ธาตุในกระดูกลดลง
มีภาวะทุพโภชนาการ ได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ
เนื่องจากคลื่นไส้ อาเจียน
การพยาบาล
ดูแลให้ได้รับนำ้มากกว่า 2 ลิตร/วัน, ผลไม่เปรี้ยว ป้องกันการเกิดนิ่วในไต
ประเมิน neuro sign ความรู้สึกตัว
Hypoparathyroidism
เกิดจากพร่อง PTH ทำให้ลดการสลายกระดูก
ท่อไตไม่สามารถดูกซึ่ม Ca ในเลือดตํ่า P สูง
ปัญหาทางการพยาบาล
และการพยาบาล
เสี่ยงต่อการชักจากแคลเซียมในเลือดตำ่
ติดตาม v/s, reflex, EKG, ชัก ดูแลการได้รับยาเพิ่มแคลเซียม
เตรียมอุปกรณ์ intubation, tracheostomy,Ca carbomate IV
แนะนำเรื่งอาหารและการรับประทาน
การรักษา
ไม่ใช้ยา รับประทานอาหารแคลเซียมสูง P ตํ่า
ใช้ยาวิตามินดี ช่วยดูดซึมแคลเซียม
Cushing’s syndrome
คอร์ติซอลออกฤทธิ์มากผิดปกติ
สาเหตุ
ร่างกายได้รับ glucocorticoid มากเกินปกติจากการ
ทาน corticosteroid มากติดต่อนาน
ร่างกายสร้าง glucocorticoid มากเกินไป
ภาวะแทรกซ้อน
hyperglycemia, hypernatremia, hypertension,
compression fracture จาก osteoporosis
ปัญหาทางการพยาบาล
และการพยาบาล
เสี่ยงต่อภาวะนํ้าเกิน
ชั่งนํ้าหนักทุกวัน วัด v/s โดยเฉพาะ BP, P, R,
ประเมินอาการบวมของอวัยวะส่วนปลาย
จำกัดนํ้า
แนะนำอาหาร การออกกำลังกาย การพักผ่อน