Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ใหญ่ที่มีความผิดปกติในระบบประสาท - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ใหญ่ที่มีความผิดปกติในระบบประสาท
การประเมินสภาพผู้ใหญ่ในระบบประสาท
2) การตรวจร่างกาย
4 การรับความรู้สึก
การทดสอบสัมผัส
ใช้สำลีปั่นยาวๆ แตะเบาๆ บริเวณผิวหนังส่วนต่างๆ เช่น แขนและขา
การทดสอบความรู้สึกเจ็บปวด
ใช้เข็มหมุดที่มีทั้งด้านแหลมและทู่แตะตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย
การทดสอบความจําแนกลักษณะของวัตถุโดยการสัมผัส
บอกให้ผู้รับ บริการหลับตานําวัตถุที่คุ้นเคย เช่น ปากกายางลบกุญแจวางในมือและใหบ้อกว่าคือวัตถุอะไร
การทดสอบความรูสึกสั่นสะเทือน
เคาะส้อมเสียงที่มีความถี่ 128 รอบ/วินาทีนําไปวางบนกระดูกบริเวณข้อตางๆ
การทดสอบความรู้สึกร้อนเย็น
ใชห้ลอดแก้วใส่น้ําร้อนอุณหภูมิ40-50องศาเซลเซียสและน้ําเย็นอุณหภูมิ5-10องศาเซลเซียส อยางละ 1 หลอด แตะบนผิวหนังบริเวณแขนขาจากส่วนปลายมายังสวนตัวและลําตัวของผู้รับบริการ
การทดสอบความรู้สึกเกี่ยวกับตําแหน่ง
ใช้นิ้วมือข้างซ้ายจับข้อมือของผู้ป่วยให้แน่น มือขวาจับที่ปลายนิ้วใดนิ้วหนึ่งของผู้ป่วยให้อยู่ ในท่าเหยียด หรืองอและให้บอกว่านิ้วมืออยูในท่าใด
5 การเคลื่อนไหว
ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ
การประสานงานของกล้ามเนื้อ
ขนาดและความตึงตัว
ท่าเดินและท่ายืน
3 การตรวจศีรษะ คอและหลัง
คลํา บริเวณกระโหลกศีรษะหาปุ่มหรือก้อนเนื้อ หาแผลเปิดหรือตําแหน่งกดเจ็บ
เคาะ เคาะเบาๆเหนือปุ่มกระดูกสันหลังว่าเจ็บหรือกดเจ็บ
ดู ขนาด รูปร่าง โครงร่างและสมดุลของศีรษะ
ฟัง เสียงฟู่หรือเสียงผิดปกติอื่นที่เส้นเลือดใหญ่หรือเส้นเลือดอื่นที่คอ ประเมินความเสี่ยงโรคหลอดเลือดตีบ แข็ง
6 ปฏิกิริยาตอบสนองหรือรีเฟล็กซ์
Primitive reflexes
ม่พบในวัยผู้ใหญ่ หากพบบ่งชี้สมองใหญ่ถูกทําลายอย่างมาก
Superficial reflexes
Deep tendon reflex
ตรวจการตอบสนองของกล้ามเนื้อ ถ้ามีการถูกกระตุ้นจากการเคาะ tendon ของ กล้ามเนื้อนั้น
2 สภาวะทางจิตใจ
ระดับความรู้สึกตัว การรู้ตัว ความจํา อารมณ์และและการแสดงออก สติปัญญา
7 ความผิดปกติของเยื่อหุ้มสมองและรากประสาท
2 Brudzinski sign
ให้ผู้ป่วยนอนหงาย ขาเหยียดตรง แล้วยกศีรษะ จะพบว่าขาทั้ง 2 ข้างงอ เข้า (ผลบวก)
3 Kernig sign
ให้ผู้ป่วยนอนหงาย งอต้นขา โดยให้โคนขาตั้งฉากรับแนวราบ และงอเข่าไว้
1 Nuchal rigidity or neck stiffness
ให้ผู้ป่วยนอนราบ แล้วก้มคอ
4 Straight-leg raising
ให้ผู้ป่วยนอนหงายจากนั้น งอสะโพกโดยที่เข่าตรง จะพบว่า มีข้อจํากัดในการงอ
5 Reverse SLR
ให้ผู้ป่วยนอนคว่ำ จะพบข้อจํากัดเมื่อยกขาด้านหลัง เนื่องจากการเกร็ง
1 สัญญาณชีพ
8 การทํางานของเส้นประสาทสมอง
1) การซักประวัติ
อาการสําคัญ
1.1 อาการสําคัญและประวัติเจ็บป่วยในปัจจุบัน
ลักษณะอาการและความรุนแรง
ตําแหน่งและการกระจาย
ระยะเวลาในการเกิดอาการ
เวลาที่เกี่ยวข้อง
อาการอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
ปัจจัยหรือสิ่งที่ทําให้อาการเป็นมากขึ้น
และ ลดลง
การรักษาในอดีตและผล
การดําเนินโรค ระยะที่ไม่มีอาการและระยะที่อาการเป็นมากขึ้น
อาการผิดปกติทางระบบประสาทที่พบบ่อย
4 เวียนศีรษะ (Dizziness)
5 คลื่นไส้ อาเจียน (Nausea and vomiting)
3 อาการชัก (Seizure)
6 ชา อ่อนแรงของแขนขา (numbness and weakness)
2 การเปลี่ยนแปลงของการรู้สติ (Alteration of conscious)
7 ปวดหลัง ปวดคอ (Back and neck pain)
1 ปวดศีรษะ (Headache)
8 ถ่ายอุจจาระปัสสาวะผิดปกติ (bowel bladder dysfunctions)
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
การเป็นโรคติดเชื้อและวัคซีน
โรคที่เกี่ยวข้องกับระบบประสาท
หัด หัดเยอรมัน การติดเชื้อ Cytomegalovirus, Herpe simplex ไข้หวัดใหญ่ ฯลฯ
ควรซักประวัติการเจ็บป่วยวัยเด็ก
ประวัติครอบครัว
โรคทางพันธุกรรมเช่น โรคลมชัก โรคหลอดเลือดสมอง โรคทางจิตประสาท
ประวัติจิตสังคม
การทํางาน การเปลี่ยนแปลงทางบุคลิกภาพ การพักผ่อน ความเครียด การ สัมผัสสารระเหยหรือสารเคมี
3) การตรวจพิเศษ
การถ่ายภาพด้วยคลื่นแม่เหล็กสเป็กโตรสโคปี (Magnetic resonance spectroscopy, MRS)
การถ่ายภาพด้วยคลื่นแม่เหล็กเพื่อตรวจสอบการทํางาน (Functional Magnetic Resonance, fMRI)
การถ่ายภาพด้วยคลื่นแม่เหล็ก (Magnetic resonance imaging, MRI)
การเอกซเรย์ภาพตัดด้วยการปล่อยโพสิตรอน (Positron emission tomography, PET)
การเอกซเรย์ภาพตัดด้วยคอมพิวเตอร์ (Computed tomograpghy, CT)
การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงแบบดอพเลอร์ (Doppler ultrasonography
การตรวจเอกซเรย์กระโหลกและกระดูกสันหลัง (Skull and spine films)
การตรวจคลื่นไฟฟ้าสมอง(Electroencephalography,EEG)
การตรวจเส้นเลือดใหญ่ที่คอด้วยเครื่องอัลตราซาวน์ (Ultrasound of Carotid Artery)
การตรวจหลอดเลือดแดงของสมอง (Cerebral Angiography)
การเจาะหลัง (Lumbar puncture (LP)
การตรวจไขสันหลังด้วยการฉีดสารทึบรังสี (Myelography)
การตรวจคลื่นไฟฟ้ากล้ามเนื้อ EMG (Electromyography)
การพยาบาลและการรักษาผู้ป่วยที่มีโรคหรือภาวะต่อไปนี้
2.2 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีการเปลี่ยนแปลงของการไหลเวียนเลือดในสมอง
2 ภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง
พยาธิสภาพ
กระโหลกศีรษะเป็นอวัยวะที่มีปริมาตรคงที่จำกัด มีเลือด 70-80มล. น้ำไขสันหลังCSF 100-150 มล.หากปริมาตรของส่วนประกอบใดเพิ่มขึ้นจะส่งผลให้ความดันในกะโหลกศีรษะ (Intracranial pressure) สูงขึ้น
อาการ
สัญญาณชีพเปลี่ยนแปลง ในระยะท้ายมี
Cushing triad
กล้ามเนื้ออ่อนแรงด้านตรงข้ามกับรอยโรค การเคลื่อนไหวผิดปกติ
การมองเห็นผิดปกติ ตามัว ภาพซ้อน จากแรงกดบน visual pathway
ในระยะท้าย รีเฟลกซ์ก้านสมองเสีย
ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนไป ปวดศีรษะและอาเจียน
การประเมินสภาพ
การตรวจร่างกาย
การตรวจพิเศษ
skull x-ray
CT-scan
ติดตามระดับ ICP
EKG
การซักประวัติเหตุการณ์ที่ทําให้เกิดการเจ็บป่วยปัจจุบัน
การดูแลผู้ป่วย
การควบคุมระดับความดันของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือด
การให้ยากันชัก
การทําให้ผู้ป่วยสงบ (sedation)
รักษาสภาวะร่างกาย (Homeostasis)
การควบคุมระดับความดันโลหิตและ CPP
การรักษาด้วยยา
การจัดท่าผู้ป่วย
การรักษาด้วยการผ่าตัด
การ Resuscitation
3 การพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง
ภาวะที่สมองขาดเลือดไปเลี้ยงเนื่องจากหลอดเลือดตีบ หลอดเลือดอุดตัน หรือหลอดเลือดแตก ส่งผลให้ เนื้อเยื่อในสมองถูกทําลาย การทํางานของสมองหยุดชะงัก
ปัจจัยเสี่ยง
ป้องกันได้
เพศ
เชื้อชาติ
อายุ
พันธุกรรม
ป้องกันไม่ได้
ไขมันในเลือดสูง โรคหัวใจ
การสูบบุหรี่ โรคอ้วน
1.ความดันโลหิตสูง เบาหวาน
การขาดการออกกําลังกาย การดื่มสุรา
ยาคุมกําเนิด การติดเชื้อบางชนิด
การประเมินสภาพ
การตรวจร่างกาย
แบบประเมิน Glasgow Coma Scale (GCS)
แบบประเมิน National Institute of Health Stroke Scale (NIHSS)
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
MRI brain
การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
การตรวจเลือด
การซักประวัติ
การรักษา
การรักษาโรคหลอดเลือดสมองปริแตกหรือฉีกขาด
การผ่าตัดได้แก่ Hematoma removal, wide craniotomy, ventriculostomy, shunting
การรักษาภาวะแทรกซ้อนของโรคหลอดเลือดสมอง
การรักษาโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน
การพยาบาลผู้ป่วย Stroke
ระยะแรก (Acute)
ดูแลให้ได้รับสารน้ํา
รักษาภาวะสมองบวม เช่น Mannitol
ดูแลทางเดินหายใจ
ป้องกันการเกิด secondary injury
ระยะหลังเฉียบพลัน
ส่งเสริมการฟื้นฟูสภาพ ช่วยให้มีคุณภาพชีวิตดีขึ้น
ป้องกันการกลับเป็นซ้ำ
ป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน IICP, ปอดอักเสบ การติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ
วางแผนการจําหน่าย
1 การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะ
กลไกการบาดเจ็บที่ศีรษะ
1) การบาดเจ็บโดยตรง (Direct injury) ขณะที่ศีรษะอยู่นิ่ง
2) การบาดเจ็บโดยอ้อม (indirect injury) เช่น บาดเจ็บส่วนอื่นร่างกายแต่ทําให้บาดเจ็บที่ศีรษะ
ประเภทของการบาดเจ็บที่ศีรษะ
1.2 การแตกของกะโหลกศีรษะ (Skull fractures)
1.3 การมีเลือดออกภายในกระโหลกศีรษะ (Intracranial hemorrhage)
1.1 การบาดเจ็บต่อหนังศีรษะ ถลอก ช้ำ ฉีกขาดและโน
1.4 การบาดเจ็บของสมอง (Traumatic Brain injury)
การประเมินสภาพ
การซักประวัติ
การเจ็บป่วย สาเหตุ
การตรวจร่างกาย
2.1 ตามหลัก (ATLS)
2.2 การตรวจร่างกายอย่างละเอียด
การตรวจพิเศษ
skull x-ray
CT-scan
ภาพถ่าย Head, Spine X-ray, Transcranial Doppler studies
การรักษา
การดูแลเพื่อป้องกัน secondary brain injury ในผู้ป่วย severe head injury
การรักษาด้วยยา
การดูแลเฉพาะ
การรักษาด้วยการผ่าตัด
สังเกตอาการ และพิจารณาส่ง CT brain ในผู้ป่วย mild และ moderate head injury
การให้คําแนะนําก่อนกลับบ้าน
การดูแลผู้ป่วยระยะยาว
4 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะ Arteriovenous malformation และหลอดเลือดสมองโป่ง
ภาวะ Arteriovenous malformation (AVM)
ในสมอง ในชั้นดูราหรือในไขสันหลัง ซึ่งหาก เกิดในสมองจะทําให้เกิดอาการชัก ปวดศีรษะเฉียบพลันภายหลังการมีเลือดออกในสมองหรือใต้อแร ชนอยด์ หรือภาวะขาดเลือด
ภาวะหลอดเลือดในสมองโป่ง (Intracranial aneurysm)
ผนังหลอดเลือดเปราะบาง (weakness) ทําให้เกิดการโป่งพองซึ่งอาจมีขนาดใหญ่มากขึ้นจนแตกตามมาได้ aneurysm อาจเกิดจาก การเจริญผิดปกติ การติดเชื้อหรือการบาดเจ็บของหลอดเลือด ผู้ป่วยอาจมีอาการเพียงเล็กน้อยเช่น ปวด ศีรษะ การมองเห็นผิดปกติ หากมีการรั่วจะปวดศีรษะรุนแรงทันทีทันใด
หากมีการแตกจะมีคลื่นไส้อาเจียน คอแข็ง ชัก หมดสติหรือสับสนร่วมด้วย
2.1. การพยาบาลผู้ป่วยที่มีโรคหรือความผิดปกติเกี่ยวกับความรู้สึกนึกคิด
1 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีการเปลี่ยนแปลงการรู้สติ (Alteration of conscious)
การรักษา
ลดอาการสมองบวม
ลดการทํางานของสมอง ลดการใช้ออกซิเจนของสมองใช้พวกบาร์บิทูเรต
เพิ่มการไหลเวียนของโลหิตในสมอง
การผ่าตัดเอาลิ่มเลือดออกในบริเวณที่เอาออกได้ และทําในเวลาอันรวดเร็ว หลังจากตรวจพบ
รักษาสาเหตุ เช่น ถ้ามีการตีบตันของเส้นเลือดก็เอาแผ่นอุดตัน (plaque) ออก โดยการทําผ่าตัด
การรักษาตามอาการและป้องกันภาวะแทรกซ้อน เช่น ติดเชื้อ แผลกดทับ ข้อติดแข็ง ขาดน้ํา
2 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการชักและโรคลมชัก (Seizure and Epilepsy)
อาการชัก
เซลล์สมองปล่อยคลื่นไฟฟ้าผิดปกติขึ้นมาพร้อมๆกัน ทําให้เกิด การเปลี่ยนแปลงการทํางานของเซลล์สมองอย่างเฉียบพลัน
การรักษา
ให้ยากันชักตามแผนการรักษา
ให้การดูแลตามหลักABC
รักษาสาเหตุชัก
การปรับยากันชัก
ควรอธิบายแนวทางการรักษา เช่น วิธีการกินยา ขนาดของยา ผลข้างเคียงของยา
การตรวจร่างกาย
เพื่อประเมินการติดเชื้อและสาเหตุอื่น