Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผลกระทบของเทคโนโลยี กรณีสร้างโรงงานไฟฟ้านิวเคลียร์, น.ส พัทธนันท์ คำเสน…
ผลกระทบของเทคโนโลยี
กรณีสร้างโรงงานไฟฟ้านิวเคลียร์
ต่อมนุษย์และสังคม
ด้านบวก
รังสีสามารถนำมาใช้เพื่อปรับปรุงพันธุ์พืชได้
ควบคุมและกำจัดแมลงวันผลไม้โดยการฉายรังสีให้แมลงเป็นหมัน
การฉายรังสีแกมม่าเพื่อฆ่าแมลงและไข่ในเมล็ดพืช
การฉายรังสีเพื่อบำบัดเนื้องอกและมะเร็งของอวัยวะที่อยู่ลึกๆเข้าไปในร่างกายและนำมาใช้ในการตรวจรักษา
การนำเอารังสีมาใช้ในการศึกษาการทำงานของระบบอวัยวะในร่างกาย
ด้านลบ
ถ้าเกิดการรั่วไหลของสารกัมมันตรังสีพื้นที่ในรัศมีที่กัมมันตรังสีแผ่ไปถึงผู้คนอาจป่วยเป็นโรงมะเร็งและเสียชีวิตได้
การยอมรับของประชาชนยังมีน้อย
อาจเกิดอุบัติเหตุร้ายแรงเหมือนกับเหตุการณ์เชอร์โนบิลหรือเหตุการณ์ในฟุกุชิมะ
ถ้ามีอุบัติเหตุจะส่งผลกระทบให้ผู้คนจำนวนมาก รอบโรงไฟฟ้าต้องอพยพจากสารกัมมันตรังสี
ผู้คนเริ่มหวาดกลัวการปนเปื้อนของสารกัมมันตรังสี
ต่อเศรษฐกิจ
ด้านลบ
ใช้เงินลงทุนเริ่มต้นสูงมาก
ถ้าพื้นที่ผลิตจำพวกอาหารอยู่ในพื้นที่ที่กัมมันตรังสีแผ่ไปถึงอาจทำให้เกิดการปนเปื้อนในอาหารได้
จำเป็นต้องพัฒนาและเตรียมการเกี่ยวกับการจัดการกากกัมมันตรังสี
ต้องเตรียมโครงสร้างพื้นฐานและการพัฒนาบุคลากรเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
การค้าขายระหว่างประเทศหยุดชะงัก
เชื้อเพลิงที่ใช้แล้วสามารถนำไปผลิตเป็นอาวุธนิวเคลียร์ได้
ถ้านำมาใช้ในทางที่ผิดก็จะเกิดผลเสียอย่างมหาศาลและอาจเป็นตัวจุดชนวนให้เกิดสงคราม
ใช้เวลาก่อสร้างนาน
ด้านบวก
สามารถผลิตไฟฟ้าได้ 1,200 เมกะวัตต์ต่อเตา
เป็นแหล่งผลิตไฟฟ้าที่มีเสถียรภาพและมั่นคง
สามารถประหยัดต้นทุนการผลิตได้เป็นจำนวนมากถึงแม้จะแพงกว่าถ่านหินแต่ถูกกว่าการผลิตไฟฟ้าจากน้ำมันถึง 2 เท่า
มีต้นทุนการผลิตแข่งขันได้กับโรงไฟฟ้าชนิดอื่น
อายุการใช้งานมีอายุที่ยืนยาวกว่ามาก
ขนส่งเชื้อเพลิงได้ง่าย
การฉายรังสีอาหารจะช่วยลดการสูญเสียของอาหารในระหว่างการเก็บรักษาและรอการจำหน่าย
ต่อสิ่งแวดล้อม
ด้านบวก
อัตราการปล่อยสารคาร์บอนไดออกไซด์ที่น้อยมาก
ปริมาณของเสียน้อยเมื่อเทียบกับวิธีผลิตไฟฟ้าแบบอื่นๆ
การวิเคราะห์ด้วย Isotope Techniques สามารถช่วยพัฒนาและจัดการทรัพยากรน้ำได้อย่างมีประสิทธิภาพ
นำเอารังสีมาใช้ในด้านสิ่งแวดล้อม เช่น การใช้รังสีแกมม่าฆ่าเชื้อโรคต่างๆในน้ำทิ้งจากชุมชน
ลดปัญหาก๊าซเรือนกระจกและฝนกรดได้
ด้านลบ
ถ้าเกิดอุบัติเหตุจะทำให้มีก๊าซเรือนกระจกออกมาด้วย
เพิ่มความเสี่ยงจากอุบัติเหตุด้านนิวเคลียร์
ใช้พื้นที่ขนาดใหญ่
ถ้าเกิดการรั่วไหลของสารกัมมันตรังสีอาจจะทำให้เกิดการปนเปื้อนของสารกัมมันตรังสีกับสิ่งแวดล้อม
การปนเปื้อนกัมมันตรังสีใ้นเนื้อเยื่อของพืชป่าและต้นไม้
การปนเปื้อนกัมมันตรังสีในระบบนิเวศ
ถ้าเกิดอุบัติเหตุพื้นที่บางส่วนแถบนั้นจะเป็นแดนรกร้างไปเลย
น.ส พัทธนันท์ คำเสน 29 409
:explode: :fire: :explode: :fire:
:warning: :lock: :warning: :lock: :warning: