Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะลำไส้เน่าอักเสบ (Necrotizing Enterocolitis, NEC) - Coggle Diagram
ภาวะลำไส้เน่าอักเสบ (Necrotizing Enterocolitis, NEC)
สาเหตุ
2.การติดเชื้อแบคทีเรียในลำไส้ ซึ่งอาจเป็นเชื้อในลำไส้ที่มีความรุนแรงน้อย เมื่ออยู่ในภาวะปกติ แต่เมื่อมีการตายเน่าของลำไส้จากภาวะขาดเลือด เชื้อเหล่านี้จะแทรกผ่านผนังลำไส้ ทำให้มีการเน่าตายมากขึ้น และอาจเข้าสู่กระแสเลือด หรือเป็นเชื้อที่มีความรุนแรงมาก มีการสร้างท็อกซินทำลายผนังเซลล์ของลำไส้โดยตรง พบในทารกที่งดนมนานๆ หรือทารกที่มีการใช้ยาปฏิชีวนะจนทำให้เชื้อหลายชนิดถูกทำลายแต่เชื้อที่มีความทนทานบางตัวเพิ่มจำนวน ก่อให้เกิด NEC
-
-
พยาธิสภาพ
เมื่อมีภาวะแทรกซ้อนในระยะคลอดหรือการคลอดล่าช้า ทำให้ร่างกายเกิดภาวะขาดออกซิเจน เลือดจากส่วนต่างๆ ของร่างกายจะไหลไปยังอวัยวะที่สำคัญ คือ หัวใจ และสมอง ทำให้ลำไส้มีภาวะขาดเลือด ในทารกที่เป็นไม่มากอาจมีแค่อาการท้องอืดและตรวจพบเลือดในอุจจาระ (Occult Blood) แต่เมื่อลำไส้ขาดเลือดมากขึ้น เยื่อบุลำไส้เป็นแผล ลอกหลุด เชื้อโรคจะเข้าสู่เยื่อบุชั้นในและกล้ามเนื้อของลำไส้ ทำให้ก๊าซเข้าไปแทรกซึมในชั้นใต้เยื่อบุลำไส้และถ้าอาการรุนแรงมากขึ้น ทารกจะมีอาการท้องอืดมากชึ้น ถามอุจจาระเป็นมูกเลือด การเน่าตายของลำไส้เกิดขึ้นตลอดความหนาของผนังลำไส้จนทำให้ทะลุได้
อาการและอาการแสดง
1.อาการทั่วไป ได้แก่ ซึ่ม ดูดนมไม่ดี ร้องกวน ตัวเหลืองภาวะอุณหภูมิกานต่ำ หยุดหายใจหัวใจเต้นช้า ภาวะกรดเกิน และภาวะโซเดียม เป็นตน
2.อาการเฉพาะ ได้แก่ ท้องอืด สีเลือดออกในทางเดินาหาร ถ่ายจุราระเหลวเป็นมูกปนเลือด อาจเจียนเป็นสีดำปนเลือด มีนมเหลือในกระเพาะอาหารมาก ละเยื่อบุช่องท้องอักเสบ เป็นต้น
การวินิจฉัยโรค
1.ซักประวัติ สังเกตอาการ ตรวจร่างกาย และการถ่ายภาพรังสี ถ้าสามารถให้การวินิจฉัยได้ตั้งแต่ระยะเริ่มแรกจะทำให้ผลการรักษาดีขึ้น
-
การรักษา
- งดให้นมทางปาก ประมาณ 10-14 วัน
-
-
-
-
6.ให้สารน้ำและสารอาหารทางหลอดเลือดดำให้เพียงพอ เมื่อผู้ป่วยพ้นระยะวิกฤตแล้ว ควรใส่สายทางหลอดเลือดใหญ่เพื่อให้สารอาหาร ไม่ควรให้อาหารทางลำไส้เร็วกว่ากำหนด เพราะอาจทำให้เกิดภาวะลำไส้เน่าอักเสบได้
7.การให้อาหารทางลำไส้ ควรเริ่มด้วยสารน้ำเกลือแร่ นมเจือจาง แล้วเพิ่มความเข้มข้นของนมจนปกติเมื่อทารกรับได้ การเพิ่มปริมาณไม่ควรเกิน 20 มล./กก./วัน
8.การผ่าตัด มีข้อบ่งชี้ คือ มีลำไส้ทะลุ การผ่าตัดก่อนตั้งแต่ระยะใกล้ทะลุเพื่อตัดลำไส้ส่วนที่เน่าตาย อาจช่วยรักษาลำไส้ส่วนที่เหลือไว้ได้ เพราะทำให้เลือดไปเลี้ยงส่วนนั้นมากขึ้น การผ่าตัดใช้ข้อบ่งใช้ ดังนี้
- เมื่อภาพรังสีแสดงว่ามีลมในช่องท้อง
- มีอาการแสดงของการระคายเคืองเยื่อบุช่องท้อง เช่น อาการกดเจ็บ ผนังท้องแข็งเกร็ง บวม แดงบริเวณผนังหน้าท้อง
- มีอาการทางคลินิกเลวลง เช่น หยุดหายใจ มีภาวะขาดออกซิเจนในเลือด มีภาวะคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดสูง และมีจำนวนเกร็ดเลือดต่ำตลอดเวลา
- มีภาวะกรดเกินที่มากขึ้นเรื่อย ๆ และแก้ไขไม่ได้