Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติของต่อมไทรอยด์ - Coggle Diagram
ความผิดปกติของต่อมไทรอยด์
2 ความผิดปกติของต่อมใต้สมอง: Pituitary tumor, Diabetes insipidus, SIADH
8.2.3 ภาวะผิดปกติของต่อม Thyroid
8.2.3.1 ภาวะ Hyperthyroidism
ระดับไทรอยด์ฮอร์โมน ในร่างกายสูงขึ้นจากต่อมไทรอยด์ผลิตและหลั่งฮอร์โมนออกมามากขึ้น
อาการและอาการแสดง
ระบบประสาทและกล้ามเนื้อ
มีอาการมือสั่น โดยเฉพาะเวลาให้เหยียดแขนและมือออกไป ข้างหน้า อาจมีศรีษะสั่นและตัวสั่น, อารมณ์เปลี่ยนแปลง หงุดหงิด ฯลฯ
ระบบทางเดินอาหาร
มีอาการหิวบ่อย กินจุ ลําไส้เคลื่อนไหวมากกว่าปกติทําให้ถ่ายอุจจาระ บ่อยขึ้นหรือท้องเสีย, กลืนลําบากซึ่งเกิดจากการบีบตัวของกล้ามเนื้อคอหอย
ระบบทางเดินหายใจ
หนื่อยง่าย, หายใจไม่สุด โดยเฉพาะเวลาออกกําลังซึ่งเกิดจาก กล้ามเนื้อช่วยการหายใจอ่อนแรง, ความยืดหยุ่นของปอดลดลงฯลฯ
ระบบสืบพันธุ์
ในเพศหญิงพบมีประจําเดือนน้อยลงหรือขาดประจําเดือน เกิดภาวะมีบุตร ยาก ส่วนในเพศชายจะมีความต้องการทางเพศลดลง , มีเต้านมโตขึ้น
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
เหนื่อยง่าย, ใจสั่น, ชีพจรเต้นเร็ว โดยเฉพาะขณะพัก , อาจบวม, แน่นหน้าอก ตรวจพบการเต้นของหัวใจเร็ว
เมตะบอลิสมของกระดูก
ภาวะไทรอยด์ฮอร์โมนเป็นพิษ จะทําให้กระบวนการสร้างกระดูก และกระบวนการสลายกระดูก
ระบบทั่วไปและผิวหนัง
น้ําหนักตัวลดลง, เหงื่อออกมาก, ขี้ร้อน, นอนไม่หลับ, ขี้โมโห, หงุดหงิด, ผิวหนังอุ่นชื้น, ชุ่มและเนียน ฯลฯ
การประเมินสภาพ
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
1.การซักประวัติ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจ EKG ผิดปกติ เช่น tachycardia และ atrial fibrillation
การวินิจฉัยด้วย radioiodine uptake (RAIU)
ประเมินโดยการวัดระดับฮอร์โมน Serum sensitive TSH (sTSH) T3 , T4 , FT4 เพิ่ม , TSH ลด
การรักษา
2.ใช้ยา ได้แก่ ยาตา้ นไทรอยด์ ยากั้นเบต้า
3.การกลืนน้ําแร่รังสี Radioactive iodine therapy
1.ไม่ใช้ยา จัดสิ่งแวดล้อมให้สงบ เย็น ระบายอากาศดี ให้รับประทานอาหารที่ให้พลังงาน
การผ่าตัดต่อมไทรอยด์
8.2.3.2 ภาวะ Hypothyroidism
ต่อมไทรอยด์สร้างและหลั่งไทรอยด์ ฮอร์โมนออกมาไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย ทําให้การเผาผลาญและการผลิตความร้อนใน ร่างกายลดลง
สาเหตุ
3) ได้รับสาร iodine ไม่เพียงพอ
4) การรักษาด้วยการฉายแสงในผู้ป่วยมะเร็ง เช่น มะเร็งบริเวณศีรษะ คอ และต่อมนํ้าเหลือง
2) จากสารหรือยาบางชนิด ได้แก่ lithium, iodine compound, amiodarone และกลุ่ม antithyroid drugs
5) เกิดภายหลังการรักษา hyperthyroidism
1) autoimmune thyroiditis หรือเรียก Hashimoto’s disease คือการที่ระบบภูมิคุ้มกัน
ของร่างกาย ทําลายต่อมไทรอยด์
6) ผู้สูงอายุจากการมี atrophy of thyroid gland
7) สาเหตุจากโรคอื่นเช่น scleroderma
ภาวะแทรกซ้อนภาวะ Hypothyroidism
Myxedema coma เป็นภาวะที่เกิดกับผู้ที่เป็น hypothyroidism นาน โดยไม่ได้รับการรักษา
การประเมินสภาพ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ T3, T4 ลดลง, TSH อาจเพิ่มหรือลด
การตรวจพิเศษ เช่น EKG: มี flat, invert T, ST depress เล็กน้อย
การซักประวัติและการตรวจร่างกาย
การรักษา
ใช้ยา ได้แก่ ยาไทรอยด์ฮอร์โมน
การผ่าตัด เมื่อก้อนไทรอยด์มีขนาดใหญ่ขึ้น
ไม่ใช้ยา ลดภาวะเครีย
8.2.3.3 การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัด Thyroidectomy
การพยาบาลก่อนผ่าตัด
ดูแลการได้รับยาต้านไทรอยด์ ไอโอดีน การพักผ่อน
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้ซักถามข้อสงสัยต่างๆ เกี่ยวกับโรค
ประเมินการรับรู้ของผู้ป่วยเกี่ยวกับโรค
ให้ข้อมูลแก่ญาติถึงสิ่งที่ผู้ป่วยมีความวิตกกังวล
ภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด
เสี่ยงต่อการเกิด respiratory distress จากการอุดกั้นของทางเดินหายใจจากการบวมของ ฝาปิดกล่องเสียง เส้นประสาท laryngeal ถูกทําลาย หรือเลือดออกบริเวณที่ผ่าตัด
ปวดแผลผ่าตัด / เสี่ยงต่อการติดเชื้อแผลผ่าตัด
ภาวะแคลเซียมในเลือดต่ำ/ เกิดภาวะแทรกซ้อนจากแคลเซียมในเลือดต่ำหลังการผ่าตัดต่อม ไทรอยด์
เสียงแหบ/ มีปัญหาในการสื่อสาร เนื่องจากเส้นประสาท laryngeal ถูกทําลายหรือบาดเจ็บ
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะไทรอยด์วิกฤต หรือ Thyroid storm
เสี่ยงต่อการขาดสารน้ําและอิเลคโทรไลท์เนื่องจากเจ็บคอและปวดแผลผ่าตัด
8.2.4 ภาวะผิดปกติต่อม Parathyroid
8.2.4.1 ภาวะ Hyperparathyroidism
ภาวะที่มีการหลั่ง paratyroid hormone (PTH) มากทําให้การเผาผลาญของกระดูก ผิดปกติ โดยมีการเคลื่อนของแคลเซียมในกระดูกเข้ามาในเลือด
การประเมินสภาพ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ระดับ PTH , Ca ในเลือดสูง , ระดับ urine Ca สูง
การตรวจพิเศษ U/S, MRI , CT thyroid/ parathyroid ผิดปกติ, EKG ผิดปกติ
ประวัติและการตรวจร่างกาย เช่นปวดกระดูก กระดูกอ่อน
การรักษา
ให้อาหารแคลเซียมต่ำ วิตามมินดีต่ำ ดื่มน้ํา 2-3 ลิตร/วัน ให้ฟอสเฟตเพิ่ม
เพื่อลดการสลาย กระดูก
2.ผ่าตัดเอาเนื้องอกออก (subtotalparpthyroidectomy)
ภาวะแทรกซ้อน
Hypercalcemic crisis เมื่อ serum calcium>15 mg/dl มีผลต่อระบบประสาทและไตได้
8.2.4.2 ภาวะ Hypoparathyroidism
การประเมินสภาพ
1.ประวัติและตรวจร่างกาย
2.ผล lab มีแคลเซียมต่ำ และฟอสฟอรัสสูง ผล EKG เปลี่ยนแปลง เช่นมี QT prolong , invert or peak T , heart block
การพร่อง PTH มักเกิดหลังผ่าตัดต่อมไทรอยด์ หรือภายหลังการฉายแสงที่ลําคอ ภาวะ นี้จะ มีผลทําให้กระดูก ลําไส้และท่อไตลดการดูดซึม Ca ลง
การรักษา
ใช้ยาวิตามินดี ช่วยดูดซึมแคลเซียม ,ยาขับปัสสาวะ
ไม่ใช้ยา ให้รับประทานอาหารที่แคลเซียมสูง ฟอสฟอรัสต่ํา ดื่มน้ํามากๆเลี่ยงอาหารที่มีออก ซาเลทสูง
8.2.5 ภาวะผิดปกติของต่อมหมวกไต(Adrenalgland)
8.2.5.2 ภาวะต่อมหมวกไตบกพร่อง (Adrenal insufficiency, AI)
ภาวะบกพร่องการหลั่งฮฮร์โมนคอร์ติซอล จากที่การทํางานของต่อมหมวกไตชั้นนอกทํางาน ได้น้อยลง
ประเภท
1.) ต่อมหมวกไตบกพร่องแบบปฐมภูม
เป็นความผิดปกติที่เกิดจากพยาธิสภาพของ adrenal cortex หากบกพร่องแบบเรื้อรัง
2.) ต่อมหมวกไตบกพร่องแบบทุติยภูมิ
เป็นความผิดปกติที่เกิดจากพยาธิสภาพของไฮโปธาลามัสหรือต่อมใต้สมองส่วนหน้า
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะวิกฤติที่เรียกว่า Addison’s crisis/Addisonian crisis
การประเมินสภาพ
การตรวจร่างกาย ความดันโลหิตต่ำ
การตรวจพิเศษ
การซักประวัติ
การรักษา
ให้ Cortisol replacement: ในภาวะไม่ฉุกเฉินให้ Prednisolone 5-7.5 mg/d ให้ aldersterone ในรูปของ Fludrocortisones 0.05-0.1 mg/d ในภาวะฉุกเฉินให้ Hydrocortisol 20- 30 mg/d
ให้อาหารโซเดียมสูง โพแทสเซียมต่ํา ดื่มน้ํามากขึ้น เลี่ยงภาวะเครียด
8.2.5.3 ภาวะ Pheochromocytoma
กิดจากเนื้องอกใน adrenal medulla ทําให้มีการผลิต/หลั่ง catecholamine มาก ผิดปกติ เกิดความดันโลหิตสูง
การประเมินสภาพ
1.ประวัติและการตรวจร่างกาย
พบ five Hs ได้แก่ ความดันโลหิตสูง (Hypertension), ปวดศีรษะ (Headache) , เหงื่อออก มาก (Hyperhidrosis), การเผาผลาญสูง (Hypermetabolism) และ น้ําตาลในเลือดสูง (Hyperglycemia) อาการอื่นคือ ใจสั่น หน้าแดง ปวดท้อง เจ็บหน้าอก , ชีพจรเต้นเร็ว , มีไข้
2.ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจ urine free catecholamine จะมากกว่า 250 mcq ค่าปกติ 100-150 mcq
ความเข้มข้นของเลือดมากขึ้น
ตรวจ urine 24 ชั่วโมง หาสาร Vanilylmandelic acid (VMA)
การตรวจ computed tomography (CT)
การรักษา
การให้ยาลดความดันโลหิตและอาการอื่นๆ
การผ่าตัด adrenalectomy
8.2.5.1 กลุ่มอาการคุชชิ่ง (Cushing's syndrome)
สาเหตุ 2 กลุ่ม
1) ร่างกายได้รับ glucocorticoid มากเกินปกติ
2) ร่างกายสร้าง glucocorticoid มากเกินปกติ เป็นสาเหตุที่พบได้น้อย
ภาวะแทรกซ้อน
hyperglycemia , hypernatremia , hypertension , compression fracture จาก osteoporosis
การประเมินสภาพ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจ Low-dose/ high-dose dexamethasone suppression test
การตรวจ 11 PM plasma cortisol level
การตรวจ 11 PM salivary cortisol level พบการเพิ่มขึ้นจากค่าอ้างอิง
การตรวจ CRH stimulation
การตรวจ Plasma cortisol สูง, 24-hour urine test หา urine free cortisol สูง
การตรวจพิเศษ
CT, MRI ต่อมใต้สมอง, CT abdomen , CXR ถ้าสงสัยมีเนื้องอกอื่น
การซักประวัติและการตรวจร่างกาย
1) อาการทั่วไป พบได้ในผู้ป่วย Cushing’s syndrome ทุกคนโดยไม่ขึ้นกับสาเหตุ ซึ่งเป็นผล มาจากฮอร์โมน cortisol ต่อเนื้อเยื่อหรืออวัยวะต่าง ๆ
2) อาการเฉพาะที่ อาการอาจแตกต่างกันในผู้ป่วยแต่ละรายขึ้นกับสาเหตุของ Cushing’s syndrome
การรักษา
2.การผ่าตัด ต่อม adrenal (adrenalectomy) หรือ Transphenoidal pituitary microsurgery หรือ total hypophysectomy อาจทําร่วมกับการฉายแสงใน Cushing’s disease
การรับประทานอาหาร ลดอาหารพลังงานสูงและคาร์โบไฮเดรตสูง ให้อาหารโซเดียมต่ำ โพแทสเซียมสูง
1.ยา ได้แก่ ยา Mitotane 2-3 gm/d เพื่อยับยั้งการสร้าง corticosteroid และ adrenal steroid และป้องกันการแพร่กระจายของมะเร็ง S/E