Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เทคนิคการให้คำปรึกษา และการประสานกับผู้ปกครอง - Coggle Diagram
เทคนิคการให้คำปรึกษา
และการประสานกับผู้ปกครอง
ขั้นตอนกระบวนการปรับเปลี่ยนทางอารมณ์
ของผู้ปกครองตั้งแต่รู้ว่าลูกมีความพิการ
1.ตกใจ
2.ปฏิเสธ
4.เศร้า
5.ไม่ตอบสนอง
6.เรียบเรียงความคิด
7.ยอมรับ
3.โกรธ
ความแตกต่างระหว่าง
Sympathy และ Empathy
Sympathy
ความเห็นอกเห็นใจ
ความสงสาร
Empathy
การเอาใจใส่
ไม่ตัดสิน
ให้ความช่วยเหลือ
รับฟังอย่างตั้งใจ
บทบาทหน้าที่ของผู้ให้คำปรึกษา
ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง
ให้ความรู้การเลี้ยงดูเด็กพิการ
ให้ความช่วยเหลือตั้งแต่เริ่มต้น
พัฒนาครอบครัวให้มีความรู้
ทักษะเด็กพิการเข้าสู่วัยผู้ใหญ่
ให้เวลากับผู้ที่เกี่ยวข้อง ในการทำงานร่วมกัน
ฝึกอบรมให้ความรู้แก่ชุมชนด้านกฎหมาย
เชื่อมโยงแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล
หลักการให้คำปรึกษา
เคารพในการตัดสินใจ
ชี้ให้เห็นข้อดีข้อเสียเพื่อเลือก
/ หาแนวทาง
สะท้อนให้ผู้รับการปรึกษา
ตระหนักความรู้สึกตนเอง
ให้ผู้รับการปรึกษาตัดสินใจ
ด้วยตนเอง
คุณลักษณะของครู
ผู้ให้การปรึกษา
รู้จักและยอมรับ
อดทน ใจเย็น
จริงจังและตั้งใจช่วยเหลือ
มีท่าที่เป็นมิตร
ไวต่อความรู้สึกของผู้อื่น
ให้คำพูดได้เหมาะสม
เป็นผู้รับฟังที่ดี
รักษาความลับ
กระบวนการให้คำปรึกษา
การสร้างสัมพันธภาพ
การสำรวจปัญหา
การเข้าใจปัญหา
การวางแผนแก้ปัญหา
ยุติการปรึกษา
ทักษะการให้คำปรึกษา
ทักษะการใส่ใจ
ทักษะการนำ
ทักษะการถาม
ทักษะการเงียบ
ทักษะการสะท้อนกลับ
การซ้ำคำ/ทวนความ
ทักษะการให้กำลังใจ
ทักษะการสรุปความ
ทักษะการให้ข้อมูลและคำแนะนำ
ทักษะการชี้ผลที่ตามมา
ปัจจัยต่อการให้การปรึกษา
พ่อแม่
อายุ
สุขภาพ
ระดับการศึกษา
เศรษฐกิจและสังคม
เด็ก
อายุ
ประเภทความพิการ
ระดับความรุนแรง
บุคลิกส่วนตัว
พี่น้องของเด็ก
จำนวนบุตร
ลำดับการเกิด
ปัจจัยภายนอก
ชุมชน เพื่อนบ้าน
เชื้อชาติ ศาสนา วัฒนธรรม
ระบบกฎหมาย ระบบเศรษฐกิจ
ปัจจัยภายนอก
วัตถุประสงค์การประสานงาน
แจ้งให้ทราบ
รักษาไว้ซึ่งความสัมพัธ์อันดี
ขอคำยินยอม
ให้งานสำเร็จตามเป้า
ให้งานมีคุณภาพมาตรฐาน
ขอความช่วยเหลือ
ขจัดข้อขัดแย้ง