Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของ ระบบประสาทส่วนปลายหรือไขสันหลัง -…
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของ
ระบบประสาทส่วนปลายหรือไขสันหลัง
โรคปวดเส้นประสาทใบหน้า
(Trigeninal neuralgia)
สาเหตุ
เส้นเลือดที่อยู่ใกล้เคียงเส้นประสาทใบหน้าคู่ที่ 5 เคล่อนเข้าใกล้จนกดทับเส้นประสาท ทำให้การทำงานของเส้นประสาทผิดปกติ ไวต่อการกระตุ้น
อาการและอาการแสดง
ปวดแปลบคล้ายไฟช็อตใบหน้า อาจมีอาการคล้ายปวดฟัน
ปวดเหงือก มันเป็นๆหายๆ แต่เกิดซำ้ได้เรื่อยๆ ระหว่างวัน
การรักษา
ยากลุ่มกันชัก
ผ่าตัดแยกเส้นเลือดที่กดทับออก
ฉายรังสี เพื่อทำลายเส้นประสาท
ปัญหาทางการพยาบาลและ
กิจกรรมการพยาบาล
โรคใบหน้าเบี้ยว (Bell’s palsy)
บวม อักเสบของเส้นปนะสาทคู่ที่ 7
สาเหตุ
อาจเกี่ยวข้องกับติดเชื้อไวรัส Herpes simplex,
Herpes zoster หรือ Cytomegalovirus
การรักษา
รักษาด้วยยา สเตียรอยด์,
ยาต้านไวรัสกรณีติดเชื้อ, ยาแก้ปวด
ดูแลดวงตา ไม่ให้แห้ง
ปัญหาทางการพยาบาลและ
กิจกรรมการพยาบาล
เยื่อบุช่องปากผิดปกติเนื่องจากการรับความรุ้สึกลดลง
ประเมินเยื่อบุช่องปาก
ให้จิบนำ้บ่อยๆ ทานครั้งละน้อย เคี้ยวด้าน
ตรงข้ามกับด้านที่ผิดปกติ
ให้กำลังใจ ไม่เร่งรีบเมื่อคุยกับผู้ป่วย
Spinal cord injury
Complete spinal cord injury
สูญเสียหน้าที่ทั้งหมด ควบคุมกล้ามเนื้อ
หูรูดรอบทวารไม่ได้
Incomplete spinal cord injury
ส่วนที่อยู่ตำ่กว่าพยาธิสภาพ มีบางส่วน
ของระบบประสาททำหน้าที่อยู่
อาการและอาการแสดง
อวัยวะตำ่กว่าระดับไขสันหลังได้รับบาดเจ็บ
จะเป็นอัมพาตแบบอ่อนปวกเปียก
อวัยวะในช่องท้องเป็นอัมพาต ทำให้ท้องอืดจาก bowel ileus
ปัสสาวะคั่งจาก atomic bladder
ปัญหาทางการพยาบาล
ขึ้นอยู่กับความรุนแรงของการบาดเจ็บ
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อน: อัมพาตเนื่องจากไขสันหลังอาจถูกกดทับหรือบาดเจ็บจากกระดูกสันหลังหัก
เสี่ยงต่อภาวะพร่องออกซิเจนเนื่องจากสูยเสียการทำงานของเส้นประสาทที่ไปเลี้ยงกล้ามเน้อกระบังลม
สาเหตุ
บาดเจ็บ จากอุบัติเหตุทางถนน, พลัดตกหกล้ม, การเล่นกีฬา
หมอนรองกระดูกเคลื่อน, การอักเสบของมัยอีลิน, เนื้องอก
การพยาบาล
ระยะเฉียบพลัน
ดูแลการหายใจ ให้ได้รับออกซิเจนช่วง 72 ชม.แรก
ในผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลังระดับคอทุกราย
ดูแลระบบไหลเวียน ให้สารนำ้เริ่มต้น 0.9% NSS
ในผู้ป่วยที่มีภาวะ shock ไม่ควร load
ปรเมินท้องโป่งตึงเป็นระยะ
ระยะฟื้นฟู
คงสภาพอวัยวะที่สามารถทำหน้าที่ได้
ให้ทำหน้าที่ต่อไป
โรคหมอนรองกระดูกเคลื่อนทับเส้นประสาท
(Herniated Nucleus Palposus)
เกิดจากการแตกของหมอนรองกระดูกสันหลัง
จนทำให้นำ้ในหมอนรองกระดูกสันหลังเคลื่อนออกมา
จนกดทับเส้นประสาท
สาเหตุ
ยกของหนักด้วยท่าที่ไม่ถูกต้อง นั่งทำงานท่าที่ไม่ถูกต้องนานๆ
นำ้หนักตัวมากเกินไป หรืออุบัติเหตุ
การรักษา
ทานยาแก้อักเสบ/ยาคลายกล้ามเนื้อ
กายภาพบำบัด
การฉีดยาสเตียรอยด์เข้าโพรงประสาท
การผ่าตัดหมอนรองกระดูกผ่านกล้องเอ็นโดสโคป
อาการและอาการแสดง
ปวดเอวส่วนล่าง มักมีอาการในท่านั่ง หรือ
มีการนั่งงอตัวไปด้านหน้า
Spondylolithiasis
กระดูกสันหลังระดับเอวเคลื่อนไปข้างหน้าเหนือ
ข้อต่อปล้องกระดูกชั้นล่างทำให้ทับเส้นประสาท
สาเหตุ
ข้อต่อกระดูกสันหลังเสื่อมมาก หรือผิดปกติแต่กำเนิด
กระดูกสันหลังส่วน pars interarticularis หัก
อุบัติเหตุและการบาดเจ็บต่อกระดูกสันหลัง
อาการและาการแสดง
ปวดหลังเรื้อรัง เกิดในขณะมีการขยับหลังมาก
ปวดชา หนักบริเวณสะโพกหรือต้นขา 2 ข้าง
การรักษา
ผ่าตัดเชื่อมข้อกระดูกสันหลัง
ผ่าตัดใส่โลหะยึดตรึงกระดูกสันหลังด้วยวิธีดั้ง
โรคโพรงกระดูกสันหลังตีบแคบ
(Spinal cord stenosis)
ความผิดปกติของโพรงกระดูกสันหลังที่แคบผิดปกติ
ทำให้เส้นประสาทไขสันหลังถูกกดทับ
สาเหตุ
จากความเสื่อมของอวัยวะในกระดูกสันหลัง
ทั้งหมอนรองกระดูก เส้นเอ็น และข้อต่อ
อาการและอาการแสดง
ค่อยเป็นค่อยไป อาจเป็นเดือนหรือปี
ปวดหลังเรื้อรังมากๆ
ปวด ชา กล้ามเนื้ออ่อนแรง
การรักษา
ทานยาแก้อักเสบ/ยาคลายกล้ามเนื้อ
กายภาพบำบัด
การฉีดยาสเตียรอยด์เข้าโพรงประสาท
การผ่าตัดหมอนรองกระดูกผ่านกล้องเอ็นโดสโคป
ปัญหาทางการพยาบาล
ก่อนผ่าตัด
พร่องความรู้เกี่ยวกับการดูแลตนเอง
มีโอกาสเกิดแผลกดทับจากภาวะกล้ามเนื้ออ่อนแรง
หลังผ่าตัด
ปวดเฉียบพลัน Acute pain
-การเคลื่อนไหวผิดปกติ
เสี่ยงต่อการเกิดลำไส้เป็นอัมพาต