Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาผู้ป่วยที่มีโรคหรือ ความผิดปกติของระบบประสาท - Coggle Diagram
การพยาบาผู้ป่วยที่มีโรคหรือ
ความผิดปกติของระบบประสาท
Increased Intracranial Pressure (IICP)
สาเหตุ
เนื้อสมองเพิ่มขึ้น เนื่องจากสมองบวม
เลือดคั่งและมีก้อนเลือด เช่น บาดเจ็บศีรษะ
สิ่งครอบครองพื้นที่ในกะโหลกศีรษะ เช่น
เนื้องอกสมอง, ฝีในสมอง
ภายในกะโหลกศีรษะมีปริมาตรคงที่ การเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบอย่างใดอย่างหนึ่งของ สมอง เลือด CSF หรือ Mass lesion ก่อให้เกิดการเพิ่มความดันในกะโหลก ส่วนที่เหลือจะปรับตัวลดปริมาตรลง หากเสียสมดุลระหว่างปริมาตรและแรงดันในกะโหลก จะมีภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง
อาการและอาการแสดง
ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนไป ปวดศีรษะและอาเจียน
การมองเห็นผิดปกติ ตามัว เห็นภาพซ้อน
สัญญาณชีพเปลี่ยนแปลง
กล้ามเนื้ออ่อนแรงด้านตรงข้ามกับรอยโรค
การเคลื่อนไหวผิดปกติ
ระยะท้าย reflex ก้านสมองเสียไป
ปัญหาทางการพยาบาลและ
กิจกรรมการพยาบาล
การกำซาบของเนื้อเยื่อสมองลดลงเนื่องจากความดันใสกะโหลกศีรษะสูง
ประเมิน V/S, N/S, ICP เช่น ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียนรุนแรง
ตาพร่ามัวทุก 1-2 ชั่วโมง หากผิดปกติรายงานแพทย์
จัดท่านอนศีรษะสูง 15-30 องศา
ให้นอนหนุนหมอนบางๆ ไม่ให้ศีรษะก้มมาชิดอก ประคองไม่ให้เอียง
โดยให้คอและสะโพกเหยียดตรง
ไม่ผูกมัด ไม่ใช้ไม้ยันปลายเท้าเพื่อป้องกันเท้าตก
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง ดูดเสมหะตามความจำเป็น เลี่ยง hyperventilation ดูดครั้งละไม่เกิน 10 วินาที
เลี่ยงการไอ จาม เบ่ง การลุกนั่ง พลิกตะแคง
ป้องกันภาวะท้องผูกและการเบ่งถ่ายอุจจาระ
ดูแลให้ได้รับสารนำ้ IV เลี่ยงสารละลาย hypotonic
Stroke
ภาวะที่สมองขาดเลือดไปเลี้ยงเนื่องจากหลอดเลือดตีบ
อุดตัน แตก ส่งผลให้เนื้อเยื่อสมองตาย
ปัจจัยเสี่ยง
ป้องกันได้
ความดันโลหิตสูง
เบาหวาน
ไขมันในเลือดสูง
โรคหัวใจ
การสูบบุหรี่
โรคอ้วน
การดื่มสุรา
ป้องกันไม่ได้
อายุ
เพศ
เชื้อชาติ
พันธุกรรม
อาการและอาการแสดง
สูญเสียการทรงตัว
มองไม่ชัด มองเห็นภาพซ้อน
ใบหน้าเบี้ยว ปากเบี้ยว
แขนขาอ่อนแรง
พูดลำบาก พูดไม่ชัด
ปัญหาทางการพยาบาลและ
กิจกรรมการพยาบาล
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด: สมองบวม
บันทึก v/s ทุก 15 น. 1 ชม. ทุก 30 น. 1 ชม. จนอาการคงที่ วัด BP ถ้า SBP>185-220mmHg หรือ DBP>120-140 mmHg วัด 2 ครั้ง
ติดต่อกัน 5 น. ให้รายงานแพทย์
บันทึก และติดตามอาการทางระบบประสาททุก 15 นาที
บันทึกค่า ICP ถ้า > 15 mmHg รายงานแพทย์
ดูแลให้ได้รับยา steroid/ osmotic diuretic
การพยาบาล
ระยะเฉียบพลัน
ดูแลทางเดินหายใจ
ดูแลให้ได้รับสารนำ้
รักษาภาวะสมองบวม เช่น Mannitol
ป้องกันการเกิด secondary injury
ระยะหลังเฉียบพลัน
ป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน IICP,
ปอดอักเสบ, ติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ
ส่งเสริมการฟื้นฟูสภาพ
ป้องกันการกลับเป็นซำ้
วางแผนจำหน่าย
Brain tumor
เนื้องอกเบียนเนื้อสมองอาจทำให้เกิดภาวะสมองบวม IICP นำ้คั่งในโพรงสมอง brain herniation อาจกดทับเส้นประสาทสมอง หลอดเลือด จนเกิดสมองขาดเลือด
ปัจจัยเสี่ยง
อายุ, การสูบบุหรี่, ประวัติคนในครอบครัว,
เป็นโรคมะเร็งแล้วแพร่กระจายล
อาการและอาการแสดง
ปวดศรีษะ ตอนเช้าหลังตื่นนอน/กลางคืน
คลื่นไส้ อาเจียนพุ่ง
ตามัว มองเห็นภาพซ้อน
ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง
ชัก
การทรงตัวผิดปกติ
ปัญหาทางการพยาบาลและ
กิจกรรมการพยาบาล
ภาพลักษณ์เปลี่ยนแปลงจากการเปลี่ยนแปลงการทำหน้าที่ของระบบประสาท
ประเมินภาพลักษณ์ ผลกระทบจากการเจ็บป่วย การรักษา
ประเมินอาการและอาการแสดงของระบบประสาท
ให้การพยาบาลอย่างนุ่มนวล
มีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด Transphenoidal approach
ประเมินภาวะแทรกซ้อน เบาจืด
ดูแลให้ได้รับ hydrocortisone ทดแทน หรือป้องกันภาวะ adrenal insuffieciency
เฝ้าสังเกตอาการรั่วของนำ้ไขสันหลัง
Seizure and Epilepsy
Seizure
เซลล์สมองปล่อยคลื่นไฟฟ้าผิดปกติขึ้นมาพร้อมกัน ทำให้มี
การเปลี่ยนแปลงการทำงานของเซลล์สมองอย่างเฉียบพลัน
Epilepsy
ชักซํ้าหลายๆ ครั้ง โดยไม่มีปัจจัยกระตุ้น
อาการและอาการแสดง
เริ่มกระตุกจากใบหน้าด้านซ้ายตามมาด้วยกระตุกทั้งตัว
ปัญหาทางการพยาบาลและ
กิจกรรมการพยาบาล
มีโอกาสเกิดอาการชักเกร็งเนื่องจากเซลล์ประสาทถูกรบกวน
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง จัดท่านอนตะแคงข้าง
ให้ออกซิเจน
เตรียมอุปกรณ์ suction, oral airway, O2 therapy
ให้ยากันชักตามแผนการรักษา