Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ใหญ่ที่มีปัญหาระบบหัวใจและหลอดเลือดในระยะเฉียบพลันวิกฤตและเรื้…
การพยาบาลผู้ใหญ่ที่มีปัญหาระบบหัวใจและหลอดเลือดในระยะเฉียบพลันวิกฤตและเรื้อรัง
ภาวะลิ่มเลือดอุดตันในหลอดเลือดดำลึก
เป็นภาวะลิ่มเลือดอุดตันในหลอดเลือดดำดึกของร่างกาย มักเกิดขึ้นที่บริเวณต้นขาหรือน่อง ทำให้เกิดอาการปวด บวม หรือกดบริเวณขาแล้วรู้สึกเจ็บ
อาการ DVT
ปวด เป็นตะคริว หรือกดแล้วเจ็บบริเวณขาข้างใดข้างหนึ่ง
ผิวหนังบริเวณที่มีอาการอาจรู้สึกร้อนหรืออุ่นกว่าผิวหนังรองๆ
รู้สึกปวดคอ
ปวดไหล่
ผิวหนังมีสีเขียวคล้ำ
สาเหตุ
ความเสียหายของผิวหนังหลอดเลือดจากการได้รับบาดเจ็บ
การไม่ได้เคลื่อนไหวร่างกาย
ภาวะน้ำหนักเกิน
การป้องกัน
ไม่นั่งไขว้ขา
ควบคุมน้ำหนัก
หลอดเลือดดำอักเสบ
ภาวะที่มีการอักเสบขึ้นกับผนังของหลอดเลือดดำ
อาการ
ปวด/เจ็บในบริเวณตำแหน่งที่หลอดเลือดอักเสบ อาจมีอาการบวม แดงได้เล็กน้อย และมักเห็นเป็นสีดำ
การรักษา
ยกแขน-ขา ด้านอักเสบให้สูงเมื่อนั่งนอน)
ปัจจัยเสี่ยง
สูบบุหรี่
โรคอ้วน
เป็นโรคเลือด
มีการให้ยาต่างๆ
มีการใส่คาเข็มฉีดยาไว้ในหลอดเลือดดำ
ผลข้างเคียง
ผู้ป่วยบางรายที่เกิดการหลุดของลิ่มเลือดขนาดเล็กมากเข้าสู่ปอด ส่งผลให้เกิดการเจ็บหน้าอก หายใจลำบาก
Heart conduction system
เริ่มต้นที่ SA node -> AV node ->Purkinje fibers -> Bundle branch
ภาวะหัวใจล้มเหลว
อาการ
หายใจไม่สะดวก เหนื่อยง่าย
แข้งขาบวม
เส้นเลือดที่คอโป่งพอง
ภาวะน้ำท่วมปอด
สาเหตุ
Volume overload
Pulmonary embolism
การติดเชื้อภายในร่างกาย
การเต้นของหัวใจที่ผิดแลปกติ
อาการและอาการแสดง
ภาวะหัวใจซีกขวาล้มเหลว
อาการบวม
หลอดเลือดดำที่คอโป่ง
ภาวะหัวใจซีกซ้ายล้มเหลว
อาการไอ พบอาการไอเป็นเลือดหรือเสมหะมีฟองเป็นสีชมพู
เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ (Pericarditis)
จากการเสียดสีของเยื่อหุ้มหัวใจทั้ง 2 ชั้น มักเจ็บหน้าอกเฉียบพลัน เยื่อหุ้มหัวใจจะบวมแดง และมักทำให้รู้สึกเจ็บแปลบบริเวณหน้าอก
อาการ
อาการเจ็บแปลบหรือเจ็บจี๊ดที่ด้านหลังกระดูกอกเฉียบพลัน
รู้สึกปวดตื้อ หรือรู้สึกเหมือนถูกกดทับบริเวณหน้าอก
รู้สึกเจ็บหน้าอกมากขึ้นเมื่อเอนนอน:
กลืนอาหาร ไอ
สาเหตุ
โรคหัวใจขาดเลือด
เนื้องอกกดทับเยื่อหุ้มหัวใจ
โรคทางพันธุกรรม เช่น ภาวะไตวาย, โรคภูมิแพ้ตัวเอง
การรักษา
ยาบรรเทาปวด
ยาโคลซิซิน
ยาคอร์ติโคสเตียรอยด์
ยาขับปัสสาวะ
ยาปฏิชีวนะ
กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด (Myocardial infarction)
สาเหตุ
หลอดเลือดหัวใจเกิดการตีบหรืออุดตัน นำไปสู่โรคหัวใจขาดเลือด กล้ามเนื้อหัวใจตายได้
อาการ
รู้สึกบีบรัดและแน่นอึดอัด เหมือมีอะไรมาทับที่บริเวณกลางหน้าอก
ปวดร้าวไปตามแขน คอ กราม
Structure and Function
Heart tissue
Surface of the heart
Chamber of the heart
Valve of heart
ภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน
ภาวะหัวใจล้มเหลวที่แสดงอาการอย่างรวดเร็ว
อาการที่พบบ่อย
หายใจเหนื่อย
อ่อนเพลีย
บวมตามแขน-ขา
ฟังปอดได้เสียง tales
หัวใจล้มเหลวระยะสุดท้าย
NYHA functional class III-IV
หอบเหนื่อยขณะทำกิจกรรมเพียงเล็กน้อย
ยาที่ใช้ในการรักษา
ยาละลายลิ่มเลือด (Anticoagulants)
ยาต้านเกล็ดเลือด (Antiplatelets
ภาวะบีบรัดหัวใจ
เป็นภาวะที่เกิดจากการสะสมของเลือดหรือน้ำภายในถุงเยื่อหุ้มหัวใจ ส่งผลให้แรงดันในหัวใจของผู้ป่วยสูงขึ้น
อาการ
ฟังเสียงหัวใจได้แผ่วเบา
หายใจเร็วหรือไม่สามารถหายใจเข้าลึกๆได้
คลำชีพจรไม่พบ
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะหัวใจล้มเหลว
น้ำท่วมปอด
เส้นเลือดแดงใหญ่ฉีกขาด
เกิดความเสียหายบริเวณเส้นเลือด
การติดเชื้อ
เกิดอาการช็อค
เยื่อบุหัวใจอักเสบ
สาเหตุ
(ไม่ติดเชื้อ) ที่พบบ่อย คือ จากโรคมะเร็ง ลุกลาม แพร่กระจาย และเซลล์มะเร็งเป็นชนิด Adenocarcinoma
(ติดเชื้อ) ส่วนมากเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย คือ Staphylococcus aureus
อาการ
มักมีไข้สูงกว่า 38 องศา
หนาวสั่น
เหงื่ออกกลางคืน
อ่อนเพลีย
ซีด
เบื่ออาหาร
น้ำหนักลด/ผอมลง
ปวดศีรษะ
แนวทางการรักษา
ยาฆ่าเชื้อทางหลอดเลือดดำ เช่น ยาปฏิชีวนะ
การรักษาโรคที่เป็นต้นเหตุ เช่น รักษาโรคหัวใจ หรือโรคมะเร็ง
การรักษาประคับประคองตามอาการ
กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ
เกิดจากการอักเสบทีกล้ามเนื้อหัวใจ ส่งผลให้ผู้ป่วยมีอาการเจ็บหน้าอก หายใจลำบาก และอาจเกิดภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
อาการ
หายใจได้สั้นลง
มีอาการบวมบริเวณขา เท้า และข้อเท้า
อ่อนแรง
สาเหตุ
การติดเชื้อไวรัส
การติดเชื้อแบคทีเรีย
ติดเชื้อปรสิต
ติดเชื้อรา
ได้รับยาหรือสารเสพติดบางชนิด
การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
โรคเส้นเลือดแดงส่วนปลายอุดตัน
ภาวะหลอดเลือดแดงแข็ง (Atherosclerosis) มีการอุดตันของหลอดเลือดส่วนปลายอาจเกิดจาก
ปัจจัยเสี่ยง
อายุ ชาย >45 ปี, หญิง >50 ปี
สูบบุหรี่
โรคเบาหวาน
โรคความดันโลหิตสูง
โรคไขมันในเลือดสูง
ความอ้วน BMI >30 kg/m2
อาการ
Paresthesia ชาและรู้สึกเจ็บน้อย
Pain ปวด
Pallor ซีด
Pulselessness คลำชีพจรไม่ได้
Paralysis อ่อนแรง
ภาวะหลอดเลือดแดงช่องท้องโป่งพอ
เป็นภาวะที่หลอดเลือดแดงใหญ่บริเวณช่องท้องโป่งขยายขนาดผิดปกติ
สาเหตุ
เกิดจากความเสื่อมของผนังหลอดเลือดตามวัย
อาการ
คลำก้อนเต้นได้ที่ท้องบริเวณลิ้นปี่ ยิ่งใหญ่ขึ้น จะมีโอกาสแตกมากขึ้น ผู้ป่วยหลอดเลือดแดงโป่งพองแตก จะมีอาการปวดท้องเฉียบพลันรุนแรง อาจปวดทะลุหลังความดันตก หมดสติจากเสียเลือด ซึ่งมีโอกาสเสียชีวิตสูง จำเป็นต้องผ่าตัดฉุกเฉิน