Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของระบบทางเดินอาหารส่วนบน - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของระบบทางเดินอาหารส่วนบน
ภาวะกรดไหลย้อน (GERD)
หูรูดส่วนปลายหลอดอาหารปิดไม่สนิท เมื่อหูรูดมีความดันตํ่า
หรือการบีบตัวผิดปกติ ทำให้อาหารค้างในกระเพาะนาน
กว่าปกติเพิ่มโอกาสไหลย้อนของกรดสู่หลอดอาหาร
อาการ
ปวดแน่นลิ้นปี่
แสบหน้าอก
ปวดเมื่อกลืน
ปัญหาทางการพยาบาล
ได้รับสารอาหารไม่เพียงพอต่อความต้องการ
ของร่างกายเนื่องจากกลืนลำบาก
ประเมินการกลืนลำบากขณะกลืน
แนะนำให้เคียวให้ละเอียด
ดูแลให้ได้รับอาหารไขมันตํ่า ทานน้อยแต่บ่อยครั้ง
เลี่ยงอาหารรสจัด รสเปรี้ยว ร้อยจัดหรือเย็นจัด
แนะนำให้เลี่ยงแอลกอฮอล์ บุหรี่ คาเฟอีน
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
กระเพาะอาหารอักเสบ (Gastritis)
สาเหตุ
ชา กาแฟ ไวน์ เบียร์
กระตุ้นการหลั่งกรด
ยาที่ยับยั้งการสร้าง prostaglandin
เพิ่มการทำลายเยื่บุกระเพาะ
สารนิโคตินในบุหรี่
ยับยั้งการหลั่ง bicarbonate จากตับอ่อน
และลดปริมาณเลือดที่มาเลี้ยง ทำให้เกิดแผลใน duodenum
อาการ
กระเพาะอาหารอักเสบเฉียบพลัน
ปวดแน่นใต้ลิ้นปี่หลังอาหาร ปวดท้องแบบ gnawing
เรอ ขย้อน คลื่นไส้ อาเจียน
อาเจียนเป็นเลือด ถ่ายเป็นเลือด
กระเพาะอาหารอักเสบเรื้อรัง
อาจไม่มีอาการของทางเดินอาหาร
เนื่องจากไม่มีการเพิ่มของกรด HCL
ซีด หรือชา จากขาดวิตามินบี 12
การรักษา
ทานยา ยาต้านฮีสตามีน ยาลดกรด ยากลุ่ม proton pump inhibitor ยาปฏิชีวนะ
งดนำ้งดอาหาร 6-12 hr. จนกว่าจะหายคลื่นไส้อาเจียน
ปรับพฤติกรรมการทานอาหาร ทานที่ย่อยง่าย อาหารอ่อนจืด
เลี่ยงบุหรี่ คาเฟอีน อาหารรสจัด
ลดภาวะเครียด
เนื้องอกหลอดอาหาร (Esophageal cancer)
สาเหตุ
สูบบุหรี่จัด
ดื่มสุรา
การรับประทานอาหารที่มี nitrosamine สูง
รับประทานผัก ผลไม้น้อย
หลอดอาหารไม่มีชั้น serosa ทำให้มีการขยายของก้อนเนื้องอกเข้าไปในหลอดอาหาร ออกไปนอกหลอดอาหารอย่างรวดเร็ว ทำให้ในหลอดอาหารเกิดการพึงรั้ง ตีบแคบหรือทะลุของหลอดาหารกับท่อลม ทำให้สำลักได้ง่ายและอุดตัน
การรักษา
รังสีรักษา
เคมีบำบัด/การผ่าตัด
photodynamic therapy
โภชนาการ
ปัญหาทางการพยาบาล
ก่อนผ่าตัด
ได้รับสารอาหารไม่เพียงพอเนื่องจากกลืนลำบาก
ดูแลให้ได้รับสารนำ้และอาหารอ่อน อาหารกึ่งเหลวพลังงานสูง
รับประทานอาหารเสริมระหว่างมื้อ
ชั่งนำ้หนักวันละครั้ง บันทึกสารนำ้เข้าออกร่างกาย
หลังผ่าตัด
มีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด: aspirate
จัดท่านอนศรีษะสูง 30-45 องศาเพื่อส่งเสริมการไอและป้องกันสำลัก
พลิกตะแคงตัว ไอ/หายใจแบบมีประสิทธิภาพทุก 2-4 ชั่วโมง
ดูแลให้ได้รับออกซิเจน หรือใช้ incentive spirometer ทุกชั่วโมง
Peptic ulcer
เกิดจากการทำลายของเยื่อบุหลอดอาหาร
กระเพาะหรือลำไส้เล็กส่วนต้น
สาเหตุ
เกิดจากความไม่สมดุลของ 2 ปัจจัย
ปัจจัยด้านการป้องกัน เช่น ความต้านทานของเยื่อบุ
การสร้างสารเมือกคลุม ความสามารถในการงอกใหม่
ปัจจัยที่ลดการป้องกัน เช่น การสูบบุหรี่ อดอาหาร
ปัจจัยคุกคาม เช่น การติดเชื้อ H. pyroli, สูบบุหรี่
อาการ
ปวดแน่นใต้ลิ้นปี่ ปวดแบบ aching, แสบร้อน, บิด
ปัญหาทางการพยาบาล
ปวดท้องเฉียบพลันจากการบาดเจ็บของเยื่อบุทางเดินอาหาร
ประเมินอาการปวด
ดูแลให้ได้รับยาลดกรด และยาอื่นๆตามแผนการรักษา
งดอาหาร 1-2 วัน เริ่มให้อาหารเหลวเมื่ออาการดีขึ้น แล้วค่อยเปลี่ยนเป็นอาหารอ่อน
เลี่ยงแอลกอฮอล์ คาเฟอีน นำ้อัดลม
เลือดออกในทางเดินอาหาร (GI hemorrhage)
การแตกของหลอดเลือดดำขอดที่หลอดอาหาร/ส่วนบนกระเพาะอาหาร
เกิดจากตับแข็ง ตับอักเสบเรื้อรัง
การรักษา
การให้สารนำ้และเกลือแร่ทดแทน
การให้เลือด keep Hb ไม่น้อยกว่า 8 g/dL, เกร็ดเลือด > = 50,000/ mm3
การห้ามเลือด
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้เหมาะสม
ปัญหาทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อภาวะปริมาตรเลือดพร่อง เนื่องจากเสียเลือด
ประเมินจำนวนเลือดออกจากการสวนล้าง NG
วัดสัญญาณชีพ ประเมิน skin turgor
ติดตามผล Hb, Hct
ดูแลให้ได้รับ IV fluid ทดแทน เช่น 0.9%NSS
เฝ้าระวังอุบัติเหตุจากภาวะ hypotension
มะเร็งกระเพาะอาหาร (Gastric cancer)
ส่วนใหญ่เป็นชนิด adenocarcinoma อาจเป็นแผลหรือก้อนคล้าย
ดอกกะหลํ่า กระจายทั่วผนังกระเพาะอาหาร ทำให้กระเพาะขยายไม่ได้
สาเหตุ
เชื้อ Helicobactor pyroli
ภาวะ pernicious anemia, gastric polyps,
chronic atrophic gastritis
อาหารที่มี nitrite/ nitrate เช่น อาหารหมักดอง
บุหรี่ สุรา
การผ่าตัดทางเดินอาหาร
การรักษา
รังสีรักษา
ยาเคมีบำบัด ระวังการกดไขกระดูก คลื่นไส้ อาเจียน
การผ่าตัด เช่น gastrectomy ต้องระวัง dumping syndrome
โภชนาการทาง TPN, อาหารทาง ostomy
ปัญหาทางการพยาบาล
ได้รับสารอาหารไม่เพียงพอเนื่องจากกลืนลำบาก คลื่นไส้ อาจียน
ดูแลให้รับประทานอาหารครั้งละน้อยแต่บ่ายครั้ง
ประเมินอาการจุกแน่นท้องหรือขย้อนหลังรับประทานอาหาร
ขณะทานอาหาร จัดท่า low fowler’s หลังทานอาหารเสร็จ
ควรนอนราบ 20-30 นาที
งดดื่มนำ้ขณะรับประทานอาหาร
ดูแลให้ได้รับ IV fluid , TPN และ lipid ตามแผนการรักษา