Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหา ระบบหัวใจเเละการไหลเวียนเลือด - Coggle…
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหา
ระบบหัวใจเเละการไหลเวียนเลือด
CHD
ชนิดที่ไม่มีอาการเขียว
กลุ่มที่ไปปอดมากขึ้น
VSD
สรีรวิทยา
มีทางติดต่อระหว่างหัวใจห้องล่างซ้าย,ขวา
เลือดแดงจะไหลลัดวงจร
หัวใจห้องล่างซ้ายไปหัวใจห้องล่างขวา ผ่านเข้าหลอดเลือดแดงพัลโมนารี
ปริมาณเลือดที่ผ่านขึ้นกับขนาดรูเปิดและแรงต้านในหลอดเลือดของปอด
อาการและอาการแสดง
ขึ้นอยู่กับการเปลี่ยนแปลงทิศทางการไหลเวียนเลือดจากไม่มีอาการจนถึงอาการมาก
VSD ขนาดเล็ก ; รูรั่ว <0.5 cm เกิดบริเวณส่วนล่าง, บริเวณกล้ามเนื้อของผนังกั้น มีขนาดเล็กทำให้เลือดลัดวงจรจากซ้ายไปขวาน้อย
คลำได้ systolic thrill
VSD ขนาดกลาง ; 0.5-0.1 cm
เหนื่อยง่าย หัวใจโตเล็กน้อย
ติดเชื้อของทางเดินหายใจบ่อย ตัวเล็ก
VSD ขนาดใหญ่ ; > 1 cm
เหงื่ออกมากตอนดูดนม พบตับโต เท้าบวม หนังตาบวม ปอดมีเสียงกรอบแกรบ
การรักษา
รักษาด้วยยา
digitalis 0.1 mg/kg/day วันละ2 ครั้ง
ยาขับปัสสวะ 1-3 mg/kg/day วันละ 1-3 ครั้ง
ผ่าตัด : ขึ้นกับอายุของเด็ก
ผ่าตัดช่วยประทังอาการ ; ทำpulmonary artery bonding รัดให้ขนาดของหลอดเลือดแดงพัลโมนารีมีขนาดเล็กลง
ทำให้หัวใจห้องล่างขวาสูงขึ้น ลดจำนวนเลือดที่รัดวงจรจากซ้ายไปขวา
ผ่าตัดปิดรูรั่ว ; ทำได้ตั่งแต่อายุ 2-3 mondh (นิยมทำหลังอายุ 2-3year) ผ่าตัดเพื่อป้องกันภาวะความดันเลือดในปอดสูง เป็นภาวะที่มีความเสียงสูง
ASD
อาการและอาการแสดง
เหนื่อยง่าย เหงื่ออกมาก ติดเชื้อของทางเดินหายใจบ่อย นน.น้อยกว่าปกติ เป็นหวัด คลำ พบ thrill
การรักษา
รักษาด้วยยา
ในรายที่มีอาการหัวใจวาย or การติดเชื้อเยื้อหุ้มหัวใจ
การผ่าตัด
อายุ 2-5 year ผ่าตัดช่วงอายุน้อยๆ ลดอัตราของการเกิดเต้นผิดจังหวะของหัวใจ
การปิดรูรั่วด้วยอุปกรณ์พิเศษระหว่างส่วนหัวใจ
ทำในรายที่รูรั่วมีขนาดเล็ก
หัวใจห้องล่างซ้ายไปหัวใจห้องล่างขวา
เลือดแดงจากหัวใจห้องบนซ้ายไปหัวใจห้องบนขวา ลงสู่หัวใจห้องล่างขวา
PAD
อาการและอาการแสดง
PDA ขนาดเล็ก
มักจะไม่ค่อยมีอาการ
PDA ขนาดใหญ่
หัวใจวาย เหนื่อยหอบ นน.ไม่ขึ้น
PDA ขนาดกลาง
เหนื่อยง่ายเล็กน้อย ติดเชื้อของทางเดินหายใจบ่อยๆ
การรักษา
รักษาด้วยยา
Indomethacin 0.2 mg/kg ทางหลอดเลือดดำ
การผ่าตัด
รักษาด้วยบอลลูน (ballon valvuloplasty) นิยมทำในเด็กโต
ระดับ O2 ต่ำ / prostaglandin E ที่สูงในกระแสเลือด
หลอดเลือด ductus arteriosus เปิดตลอด
กลุ่มที่มีอาการตีบเเคบ
COA
อาการและอาการแสดง
เด็กมักจะไม่มีอาการ โตขึ้นถึงจะมีอาการ
การรักษา
รักษาด้วยยา
ให้ยาควบคุมความดันในเลือดในรายที่มีความดันในเลือดสูง
ให้ยาขับปัสสวะ,ดิจิทาลิส ในรายที่มีอาการหัวใจวาย
การผ่าตัด
ผ่าตัดส่วนที่แคบออกนำปลายทั้งสองข้างที่ถูกตัดมาเชื่อมติดกัน จะทำเมื่ออายุ 3-5 Year หลังผ่าตัดให้ยาควบคุมความดันเลือดต่อเป็นเวลาหลายเดือน
การตีบแคบของหลอดเลือดแดงเอออร์ต้า
การหนาตัวของชั้น media ของหลอดเลือดขัดขวางการไหลเวียนเลือด
ความดันในหลอดเลือดบริเวณส่วนที่อยุ่เหนือรอยตีบเพิ่มขึ้น
AS
อาการและอาการแสดง
ตีบเล็กน้อย
ไม่มีอาการ แม้จะฟังได้เสียงฟู่ เนื่องจากไม่มีผลกระทบต่อการไหลเวียนเลือด
ตีบมาก
ทารก ชีพจรเบา,หัวใจเต้นเร็ว,BP ต่ำ,ดูดนมน้อย
เด็กโต เหนื่อย,อ่อนเพลีย,หอบ,เหงื่อออก,
เจ็บหน้าอกแบบ angina,หมดสติ
การรักษา
รักษาด้วยยา
กลุ่ม beta-blocker หรือ calcium channel blocker เพื่อลดภาวะหัวใจโต
การผ่าตัด
ใส่บอลลูน ผ่าตัดตกแต่งลิ้นหัวใจ aortic valvalotomy หรือ aortic valaloplasty ผ่าตัดเปลี่ยนลิ้นหัวใจ
ความมแตกต่างของความดันเลือดระหว่างหัวใจห้องล่างซ้ายและหลอดเลือดแดงเอออร์ต้า
เลือดออกจากหัวใจห้องล่างซ้ายไหลผ่านออกไปได้ช้ามาก
ปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจน้อยลง
หัวใจห้องล่างซ้ายบีบตัวแรงและหนาขึ้น
ผนังหัวใจจึงหนาขึ้น
PS
ชนิดที่มีอาการเขียว ,
มีเลือดไปปิดมากขึ้น
TAPVR
TGA
เลือดเข้าบนขวา RA
ไปล่างขวา RV
Aorta
เลือดไปเลี้ยงร่างกาย O2 ต่ำ
เลือดเข้าบนซ้าย LA
ไปล่างซ้าย LV
มาที่หลอดเลือด Pulmonary Artery
นำเลือดไปฟอกที่ปอด
เพื่อนำเลือดกลับเข้าห้องหัวใจ บนซ้ายอีกครั้ง
อาการ
Preterm -นน. ตัวน้อยร้ยละ 52 มีอาการเขียวทันทีตั้งแต่แรกเกิด
น้ำหนักตัวน้อยร้อยละ 92 มีอาการเขียวภายหลังแรกเกิด
อาการทั่วไป : เหนื่อยง่าย หายใจหอบ ดูดนมน้อยมีหัวใจวายร่วมด้วย
การรักษา
รักษาด้วยยา
ให้ Prostaslandin E ทางหลอดเลือดดำ ductus ateriosus ปิด
รักษาด้วยการผ่าตัด
ผ่าตัดประทังชีวิต
Rashkind procedure เป็นการทะลุผนังกั้นหัวใจ ห้องบนด้วยบอลลูน Ballon atrial septostomy
ผ่าตัดเเก้ไขทั้งหมด
atrial switch operation ผ่าตัดเปลี่ยนทางไหลเวียนเลือดในห้องหัวใจ
การพยาบาล
ลดการใช้O2
จัดให้ได้รับการพักผ่อนที่เพียงพอ
เลี่ยงสิ่งรบกวนทางอารมณ์
ภาวะโภชนาการบกพร่อง
จัดอาหารที่มีพลังงานสูง
ควรดูแลให้ได้รับยาที่มีส่วนผสมของธาตุเหล็กตามแผนการรักษา
ควบคุมและป้องกันการติดเชื้อ
ควรแยกออกจากผู้ป่วยที่ติดเชื้อ
หลีกเลี่ยงการอยู่ในที่แออัด
ทำความสะอาดช่องปากและฟันอย่างสม่ำเสมอ
มีเลือดไปเลี้ยงน้อยลง
TA
ความผิดปกติของลิ้นหัวใจไตรคัสปิดตีบแคบ
เลือดจากหัวใจห้องขวาบนลงมาห้องขวาล่างไม่ได้
เลือดไหลลัดวงจรไปห้องบนซ้าย(foramen ovale) ผสมเลือดแดงจากปอด
เลือดที่ไปเลี้ยงในร่างกายเป็นเลือดผสม
ความอิ่มตัว O2 ในเลือดลดลง
อาการ
ทารก
หายใจหอบเหนื่อย
ดูดนมได้น้อย
ได้ยินเสียง S2 เสียงเดียว
เด็กโต
ขาด O2 เรื้อรัง
นิ้วมือ นิ้วเท้าปุ้ม
เม็ดเลือดแดงมากกว่าปกติ
การรักษา
รักษาด้วยยา
ให้ ProstaglandinE,ทางหลอดเลือดดำ จนกว่าจะผ่าตัด
เพื่อป้องกัน ductus ateriosus ปิด
ช่วยให้เลือดไปฟอกปอดมากขึ้น
การรักษาด้วยการผ่าตัด
ทารกแรกเกิด : นำmcdified Blalcck - Taussing anastomosis
ทารกอายุ 6 เดือน : นำ Glenn anastomosis
อายุ 2-4 ปี : ผ่าตัดด้วยเทคนิค Fontan procedure
TOF
หัวใจห้องล่างขวามีการอุดตัน
ความดันหัวใจล่างขวาสูงขึ้นและมีรูรั่ว
เลือดไหลลัดวงจรจากขวา-ซ้าย
ปริมาณลือดที่รับออกซิเจนที่ปอดน้อยลง
อาการและอาการแสดง
เด็กโตช้า ริมฝีปากและเล็บเขียว
มีอาการเขียวทันที Canoxic
ร้องไห้นาน ออกแรงมาก หัวใจบีบตัวแรง
หลอดเลือดตีบแคบ
เลือดไปขอดน้อยลง
ได้ยินเสียง Systolic ejection Mormon
ส่วนบนหรือ กลางด้านซ้าย
เม็ดเลือดแดงเพิ่มขึ้น
1 more item...
การรักษา
รักษาด้วยยา
ให้ Prostaglandin E, ขยายPDA ให้เลือดไปปอดมากขึ้น
ขณะมีอาการ anoxic spells.
ให้มอร์ฟีน 0.2 mg/up หรือ beta-adrenergic blockade ทางหลอดเลือด
รักษาด้วยการผ่าตัด
ผ่าตัดชั่วคราว
เพื่อนำเลือดไปที่ปอด
นิยมทำแบบ Modified Blalock Taussing
ผ้าตัดแก้ไข
เด็กอายุมากกว่า 8-10 kg หรืออายุเกิน 2-6 ปี
1 more item...
การป้องกันภาวะแทรกซ้อน
1 more item...
PS
ลิ้นพัลโมนารี่ตีบเเคบ
กล้ามเนื้อหัวใจหนาตัวขึ้น
เลือดจากห้องบนขวาไหลมาห้องล่างขวาไม่ได้ (เหมือนTA)
เลือดไหลลัดวงจารจากบนขวา
ล่างซ้าย Foramen ovale
ความดันหัวใจห้องล่างขวาสูง + หัวใจโต
หลอดเลือดเเดงพัลโมนารี่มีความดันต่ำ
อาการ
ตีบน้อย
ตรวจพบ ejection systolic murmur
อาจมีเสียง systolic thrill ร่วมด้วย
ตีบปานกลาง
ฟังได้ยินเสียง systolic murmur
ได้ยินเสียง ejection click
ลิ้นพัลโมนารีปิดช้า
ตีบมาก
หายใจลำบาก เจ็บหน้าอกเมื่อออกแรง เป็นลมบ่อย ฟังได้เสียง systolic murmur
เด็กเล็ก : หัวใจวายด้านขวา เขียวเล็กน้อย
เด็กโต : เหนื่อย เขียวบางราย
การรักษา
รักษาด้วยา (เหมือนTA)
รักษาด้วยการผ่าตัด
ในกรณีที่ผู้ป่วยหัวใจวาย มีอาการตีบมาก
รักษาด้วยบอลลูน
ขยายหลอดเลือดให้เลือดไปปอดดีขึ้น
Acquired Heart Disease
Rheumatic Fever
หลังติดเชื้อ beta-hemolytic streptococcus group A
มีการอักเสบจากปฏิกิริยา การตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน Antibody มีปฏิกิริยากับเนื้อเยื่อต่างๆ โดยเฉพาะหัวใจมี fibrin เกาะ
อาการ
อาการสําคัญ (major manifestations)
การอักเสบของหัวใจ (carditis) —> อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย หัวใจเต้นเร็ว
Sydenham’s chorea —> ความผิดปกติของการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อ
อาการข้ออักเสบ(polyarthritis) —> ที่เป็นบ่อย คือ ข้อเข่า ข้อเท้า และข้อมือ ลักษณะของการอักเสบเจ็บ บวม แดง และร้อน
erythema marginatum —> ผื่นแดง ไม่คัน ไม่ปวด ขอบผื่นหยักสีแดงชัดเจน
subcutaneous nodules —> ปรากฎหลังเป็นโรคนานหลายสัปดาห์ลักษณะเป็นก้อนแข็ง รูปกลม กดไม่เจ็บ เคลื่อนไปมาใต้ผิวหนัง
อาการรอง (minor manifestation)
ไข้ ปวดข้อ ไม่มีอาการอักเสบเลือดกำเดาไหล ปวดท้อง
การวินิจฉัย
Jones Criteria Update มีอาการสำคัญ 2 อาการ หรือ 1 อาการ ร่วมกับอาการรอง 2 อาการ
การรักษา
ยาปฏิชีวนะ amoxycilin benzathine นาน 10 วัน
ยาลดการอักเสบ —> Aspirin ibuprofen steroid
ยาลดอาการทางประสาท —> phenobarbital
การป้องกัน
1.Primary prevention
2.Secondary Prevention
Rheumatic Heart Disease
MS
เลือดที่ไหลลงสู่หัวใจห้องล่างซ้ายเกิดการไหลวน
เลือดค้างใน LA มาก ทำให้ความดันใน LA เพิ่มขึ้น เกิด LAH
AR
เลือดจากหลอดเลือดเอออร์ต้าบางส่วน ไหลกลับลง LV —> LVH
มี stroke volume เพิ่มมากขึ้น ทำให้ systolic สูงขึ้น ในขณะที่ diastolic ต่ำลง
MR
เลือดรั่วจาก LV ผ่านรูรั่วไมตรัล ไปยัง LA
ทำให้เลือดไปเลี้ยงร่างกายได้น้อยกว่าปกติ
MR —> LAH —> LVH —> Pulmonary hypertension
Kawasaki Disease
เกิดจากสารเชิงซ้อนทางภูมิคุ้มกันจับกับเยื่อบุผนังหลอดเลือด
ทําให้หลอดเลือดอักเสบ
แล้วอักเสบลุกลามไปยังชั้นกล้ามเนื้อของหลอดเลือดแดง
ผนังหลอดเลือดหนา เกิดรอยแผล มีหินปูนเกาะบริเวณหลอดเลือด
ทําให้หลอดเลือดหัวใจโป่งพอง
2.ระยะกึ่งเฉียบพลัน
ผิวหนังบริเวณนิ้วมือมีการหลุดลอก ปวดข้อ
ระดับเกล็ดสูงขึ้น มีการตายของอวัยวะส่วนปลายนิ้วมือ นิ้วเท้า
ถ้าไม่ได้รับการรักษา
1 more item...
3.ระยะพักฟื้น
ระดับเกร็ดเลือดยังสูง มีรอยขวางบริเวณเล็บ
1 more item...
1.ระยะเฉียบพลัน
ตาแดง ริมฝีปากจะแดง แห้ง แตก ลิ้นคล้ายสตอเบอร์รี่ (strawberry tougue) มีผื่นบริเวณขาหนีบ ก้น แต่ไม่คัน ต่อมนํ้าเหลืองโต (มักพบข้างเดียว)
อาการอื่นๆ
1 more item...
การวินิจฉัยโรค
ไข้สูงนานกว่า 5 วันติดต่อกัน
ตาแดงทั้ง 2 ข้าง อาจพบวงขาวรอบตาดำ (perilimbal sparing)
มือ เท้า บวมแดง ลอก
ริมฝีปากแดง แห้ง แตก ลิ้นแดงคล้าย
ผื่นแดงบริเวณลำตัว ขาหนีบ
ต่อมน้ำเหลืองบริเวณคอโตมากกว่า 1.5 ชม.
การรักษา
1.ให้ Gamma globulin (IVIG) ขนาดสูง
2.แอสไพริน
3.Dipyridamole
4.coumadin/warfarin/heparin
5.ผ่าตัด
การพยาบาล
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
ดูแลให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำ
สังเกตและประเมินอาการที่อาจเกิดการอุดตันของหลอดเลือดบริเวณส่วนปลาย
การตรวจห้องปฏิบัติการ
ตรวจเลือด
เมล็ดเลือดขาวอาจปกติหรือเพิ่มมากกว่า 15,000 เซลล์/ลูกบาศก์มิลลิเมตร
ค่า ESR มากกว่า 40 มิลลิเมตร/ชั่วโมง
ค่า CRP สูงมากกว่า 3 มิลลิกรัม/เดซิลิตร
ค่า AST ALT มากกว่าปกติ 2-3 เท่า
ตรวจปัสสาวะ อาจพบเม็ดเลือดขาวในปัสสาวะมากกว่า 10 เซลล์/HPF
การเมินการทำหน้าที่ของหัวใจและหลอดเลือด
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ
คลื่นเสียงสะท้อน
การตรวจของเหลวจากข้อ (synovial flui
CHF
เยื่อหุ้มหัวใจ,สิ้นหัวใจตีบ
หัวใจฉูบฉีดเลือดไปเลี้ยงร่างกายไม่ได้
ขาดออกซิเจน
คั่งของเกลือและน้ำ
การพยาบาล
ให้ออกซิเจนที่เพียงพอต่อร่างกาย
จำกัดสารน้ำและเกลือโซเดียม
ติดตามอาการหลังให้ยาทุก15นาที เพื่อดูผลข้างเคียง
กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด หัวใจเต้นผิดจังหวะ เมื่อพบอาการเหนื่อย บวม ให้รีบรายงานแพทย์ทันที
IE
ติดเชื้อที่ลิ้นหัวใจ
การไหลเวียนเลือดแรงกว่าปกติ
เกิดแผลที่ลิ้นหัวใจ
อาการ
-หายใจลำบาก -บวม -หายใจหอบเหนื่อย นอนราบไม่ได้ -มีไข้หนาวสั่น -อาจพบจุดเลือดออกที่ปลายมือปลายเท้าหรือเยื่อบุตา
การรักษา
ให้antibiotic
ผ่าตัด
รักษาประคับประครอง ผู้ป่วยที่มีความเสี่ยง มีการใส่ลิ่นหัวใจเทียม มีประวัติติดเชื้อที่หัวใจ หัวใจพิการแต่กำเนิด