Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระยะที่ 1 ของการคลอด - Coggle Diagram
ระยะที่ 1 ของการคลอด
รับใหม่ผู้คลอด
1.การซักประวัติ
1.1 ประวัติการเจ็บครรภ์
เจ็บครรภ์จริง
• อาการเจ็บเกิดขึ้นสม่ำเสมอ ปวดหลังใกล้บั้นเอวร้าวมาบริเวณหน้าท้อง
• ระยะห่างของอาการถี่ขึ้น (ทุก 5-10 นาที)
• ความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น เจ็บนาน 45-50 วินาที
• มีมูก หรือมูกปนเลือดไหลจากช่องคลอด
เจ็บครรเตือน
• อาการเจ็บเกิดขึ้นไม่สม่ำเสมอ มักปวดแค่บริเวณท้องน้อย
• ระยะห่างของอาการไม่ถี่ขึ้น (ทุก15-20 นาที)
• ความรุนแรงของอาการเท่าๆเดิม ไม่แรงมากขึ้น
• ไม่มีอาการอื่นๆ เช่น มูก หรือมูกปนเลือดไหลจากช่องคลอด
-
-
-
-
2.การตรวจร่างกายทั่วไป
เป็นการตรวจต้ังแต่ศีรษะ จรดเท้า ตรวจเยื่อบุตา ต่อมไทรอยด์ ฟังเสียงปอด เสียงหัวใจ ตรวจเต้านม
ตรวจอาการบวมตามร่างกาย ความสะอาดของร่างกาย และV/S แรกรับ
-
รูปร่างและโครงสร้าง
มารดามีรูปร่างเต้ียต่ากว่า 145 ซม. ถือว่ามีภาวะ เสี่ยงกับภาวะช่องเชิงกรานแคบ นอกจากนี้ยังต้อง สังเกตว่ามีความพิการหรือไม่ โดยเฉพาะบริเวณ สะโพก และไขสันหลัง เพราะอาจมีผลต่อกระดูกเชิง กราน ทาให้คลอดทางช่องคลอดไม่ได้จากช่องเชิง กรานแคบหรือเชิงกรานบิดเบี้ยว
3.การตรวจครรภ์
การดู
หน้าท้อง
ดู Striae gravidarum , Linda Nigra , แผลผ่าตัดคลอด
ดูขนาดท้องว่าใหญ่ผิดปกติหรือไม่ ถ้าใหญ่มาก อาจเป็นครรภ์แฝดน้า เด็กตัวโต การพบความ ผิดปกตินี้มักพบภาวะแทรกซ้อนระหว่างการคลอด ดู ลักษณะทั่วไปของ
ท้อง เช่นหน้าท้องหย่อน ห้อยลงมา หรือกล้ามเน้ือ หน้าท้องหย่อนแยกจากกัน ภาวะน้ีทาให้แรงเบ่งจาก กล้ามเนื้อหน้าท้องไม่เต็มท่ี ลักษณะท้องนี้จะทาให้ เด็กอยู่ในท่าผิดปกติ สังเกตลักษณะเคลื่อนไหวของ เด็กเพื่อประเมินว่าทารกในครรภ์ยังมีชีวิตอยู่
การดิ้นของทารก
1.การนับแบบกำหนดช่วงเวลา
- นับ 30-60 นาที วันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร หากทารกดิ้น < 3 ครั้ง/ชั่วโมง ให้นับต่ออีก 6-12 ชั่วโมงต่อกัน ถ้า < 10 ครั้งใน 12 ชั่วโมง ถือว่าผิดปกติ
- นับใน 1 ชั่วโมง ถ้าดิ้น > 3 ครั้งขึ้นไป ถือว่าปกติ ถ้า 2 ชั่วโมง< 3 ครั้งให้พบแพทย์
-
การคลำ
-
ระดับยอดมดลูก
- อายุครรภ์ 12 สัปดาห์ ยอดมดลูกจะสูงประมาณ 1/3 เหนือกระดูกหัวหน่าว
- อายุครรภ์16 สัปดาห์ ยอดมดลูกจะสูงประมาณ 2/3 เหนือกระดูกหัวหน่าว
- อายุครรภ์20 สัปดาห์ ยอดมดลูกอยู่ระดับสะดือ
- อายุครรภ์24 สัปดาห์ ยอดมดลูกจะสูงกว่าระดับสะดือเล็กน้อย
- อายุครรภ์28 สัปดาห์ ยอดมดลูกอยู่ 1/4 เหนือระดับสะดือ
- อายุครรภ์32 สัปดาห์ ยอดมดลูกอยู่ 2/4 เหนือระดับสะดือ
- อายุครรภ์36 สัปดาห์ ยอดมดลูกอยู่ 3/4 เหนือระดับสะดือ
การหดรัดตัวของมดลูก
- ระยะ latent : interval = 10-30 นาที Duration 20-30 วินาที
- -ระยะ active : ตอนต้น : interval = 3-5 นาที duration = 30-60 วินาที
ตอนปลาย : interval = 2-3 นาที duration = 45-60 วินาที
-
4.การตรวจภายใน
- latent phase ครรภ์แรก 0.3 cm/hr.
- Active phase ครรภ์แรก 1.2 cm/hr. ครรภ์หลัง 1.5 cm/hr.
-
ส่วนนำ: ดูว่าส่วนนำทางช่องคลอดคือส่วนใดของทารก
ระดับของส่วนนำ : โดยใช้ระดับ Ischial spine เป็นหลักระดับส่วนนำ station 0 ถือว่าเป็น -1 , -2 , -3 ตามลำดับ และถ้าต่ำกว่า เป็น +1 , +2 , +3 จนถึง +4 นั่นคืออยู่บน pelvic floor
- Membrane Intact / Rupture
membranes intact = ถุงน้ำยังอยู่
membranes leake = ถุงน้ำรั่ว
membranes rupture = ถุงน้ำแตก
Spontaneous rupture of membrane = แตกเอง
Artificial rupture of membrane = เจาะถุงน้ำคร่ำ
-
-
-
-
- การประเมินด้านจิตสังคม ได้แก่ อายุ ศาสนา อาชีพ รายได้
- บทบาททางสังคม ประวัติการสมรส ความสัมพันธ์ในครอบครัวและปัจจัยสนับสนุนทางสังคม ความพรอมของการมีบุตร การเตรียมตัวเพื่อการคลอด ความหวังในการตั้งครรภ์ วัฒนธรรมและความเชื่อที่มีผลต่อสุขภาพและความวิตกกังวล
การเฝ้าคลอด (การประเมินความก้าวหน้าของการคลอด)
*การ PV ทำเพิ่มเติมเมื่อ น้ำคร่ำแตก ผู้คลอดเจ็บครรภ์มากขึ้นละมีอาการอยากเบ่ง มูกเลือด ได้รับยาระงับปวดที่มีฤทธิ์กดการหายใจทารก
-
-
-
-
-
-
การใช้ [partograph]
-
-
ข้อยกเว้นในการทำ
-
-
-
C/S แบบ emergency เช่นprolapsed cord ,placenta Previn
แนวทางการปฏิบัติ
-
-
-
-
-
7.polling latent phase มากกว่า8ชม.ให้ประเมินทางคลินิก หากปกติประเมินอาการเจ็บครรภ์จริง ถ้าเป็นให้เจาะถุงน้ำ และให้oxytocin หลังให้ครบ8ชม. ยังไม่เข้าสู่ระยะactive phase ให้ไปผ่าคลอด
-
8.เมื่อเส้นกราฟเลยไประหว่างalert line และ action line ให้เจาะถุงน้ำ ยังไม่ให้oxytocinและPVหลังครบ4ชม.
-
-
-
-
-
-
-